ส.ส.ก้าวไกล ย้ำกองทัพเรือไทยไม่ได้ผิดสัญญาเรือดำน้ำ ดัก สุทิน อย่าไปเจรจากับจีนแบบรับจบ ทำไทยเสียประโยชน์ ชี้ควรยกเลิกสัญญา แล้วเสนองบเข้ามาใหม่พร้อม Offset Policy ถ่ายทอดเทคโนโลยี-พัฒนาอุตสาหกรรมต่อเรือในประเทศ
ส.ส.ก้าวไกล ย้ำ กองทัพเรือ ไทยไม่ได้ผิดสัญญา เรือดำน้ำ ดัก"สุทิน" อย่าไปเจรจากับจีนแบบรับจบ ทำไทยเสียประโยชน์ ชี้ควรยกเลิกสัญญา แล้วเสนองบเข้ามาใหม่พร้อม Offset Policy ถ่ายทอดเทคโนโลยี-พัฒนาอุตสาหกรรมต่อเรือในประเทศ
ถ้าจะมีการผิดสัญญาเกิดขึ้นก็น่าจะเป็น CSOC ที่ผิดสัญญากับกองทัพเรือ เพราะสัญญาระบุเลขรุ่นเครื่องยนต์เอาไว้อย่างชัดเจนว่าจะต้องเป็นรุ่น 16V396SE84-GB31L เท่านั้น ซึ่งจะเป็นยี่ห้ออื่นไปไม่ได้นอกจากเครื่องยนต์ดีเซลกำเนิดพลังงานไฟฟ้า MTU396 โดยประเด็นนี้สำนักงบประมาณกลาโหมก็เคยมาชี้แจงยืนยันในกรรมาธิการการทหารเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2566 แล้ว
อีเมลฉบับแรกเป็นรายละเอียดที่ CSOC ขอใบเสนอราคา เครื่องยนต์ MTU396 จากเยอรมนี โดยเป็นอีเมลลงวันที่ 24 ธันวาคม 2561 หลังจากที่กองทัพเรือได้ชำระเงินงวดที่ 2 ให้กับทาง CSOC ไปแล้ว 4 วัน และเป็นการขอใบเสนอราคาหลังจากที่กองทัพเรือลงนามในสัญญาสั่งซื้อเรือดำน้ำไปแล้วถึง 598 วัน จึงเป็นหลักฐานที่ชัดเจนว่า CSOC เรียกรับชำระเงินจากกองทัพเรือโดยที่ยังไม่ได้จัดซื้อเครื่องยนต์ MTU396...
แม้ว่าเครื่องยนต์ CHD620 จะผ่านการตรวจสอบเบื้องต้นในห้องปฏิบัติการจากบริษัท Lloyds มาแล้ว แต่เข้าใจว่ากองทัพเรือก็ยังไม่เห็นการทดสอบการใช้งานเครื่องยนต์ CHD620 จริงในทะเล และปัจจุบันจำนวนชั่วโมงการใช้งานจริงของเครื่องยนต์ CHD620 ก็ยังถือว่าน้อยมาก ต่างจากเครื่องยนต์ MTU396 ที่มีการใช้งานจริงมาแล้วถึง 250 เครื่อง คิดเป็นชั่วโมงการทำงานกว่า 310,000 ชั่วโมง
นายวิโรจน์ กล่าวต่อไปว่า สำหรับค่าชดเชยที่คิดเป็นมูลค่าน้อยนิดเพียง 200 ล้านบาท คิดอย่างไร ก็เป็นค่าชดเชยที่เสียเปรียบมาก กองทัพเรือจ่ายชำระเงินค่าเรือดำน้ำไปแล้วประมาณ 8,000 ล้านบาท และมีการก่อสร้างท่าจอดเรือ ระบบสื่อสาร และโรงเก็บต่าง ๆ อีกราว 2,000 ล้านบาท รวมแล้ว 10,000 ล้านบาท จากเดิมที่กองทัพเรือจะต้องได้เรือดำน้ำลำแรกในปี 2566 แต่ขณะนี้จะต้องขยายเวลาไปอีกกว่า 1,200 วัน หรืออีก 4 ปี โดยจะได้รับในปี 2570 หากคิดอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 2.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
ก้าวไกลหนุน 'สุทิน' ชงแก้ กม.ลดอำนาจสภากลาโหม กองทัพหยุดเป็นรัฐซ้อนรัฐ ใช้ศาลทหารเฉพาะช่วงสงครามวิโรจน์ เห็นด้วย “สุทิน” เสนอแก้กฎหมายปรับสภากลาโหม-กำหนดคุณสมบัติแต่งตั้งนายพล แนะถ้าแก้ต้องแก้ให้ถึงแก่น ยืนยันหลักการกองทัพอยู่ใต้รัฐบาลพลเรือน หากแก้แบบผิวๆ จะเสียโอกาส ด้าน “ธนเดช” หนุนตัดทิ้งซูเปอร์บอร์ด
อ่านเพิ่มเติม »
'วิโรจน์' เห็นด้วย 'สุทิน' เสนอแก้กฎหมายปรับสภากลาโหม-กำหนดคุณสมบัติแต่งตั้งนายพล'วิโรจน์' เห็นด้วย 'สุทิน' เสนอแก้กฎหมายปรับสภากลาโหม-กำหนดคุณสมบัติแต่งตั้งนายพล แนะถ้าแก้ต้องแก้ให้ถึงแก่น ยืนยันหลักการกองทัพอยู่ใต้รัฐบาลพลเรือน หากแก้แบบผิวๆ จะเสียโอกาส ด้าน 'ธนเดช' หนุนตัดทิ้งซูเปอร์บอร์ด
อ่านเพิ่มเติม »
'วิโรจน์' วอน 'สุทิน' อย่าคุย 'เรือดำน้ำ' กับจีนแบบรับจบ หวั่นไทยเสียเปรียบ'วิโรจน์' เผย กองทัพเรือไทยไม่ได้ผิดสัญญา 'เรือดำน้ำ' เตือน 'สุทิน' ยอมเจรจารับจบ ไทยจะเสียเปรียบ CSOC ควรจ่ายอย่างน้อย 1,000 ล้านบาท ไม่ใช่แค่ 200 ล้านบาทตามที่เสนอ .
อ่านเพิ่มเติม »
‘วิโรจน์’ หนุน ‘สุทิน’ แก้กฎหมายกลาโหม สกัดรัฐประหาร ลั่นต้องทำให้ถึงแก่น‘วิโรจน์’ เห็นด้วยในหลักการ หลัง ‘สุทิน‘ เสนอแก้ ’กฎหมายกลาโหม‘ สกัดรัฐประหาร แต่ต้องแก้ให้ถึงแก่น ไม่ใช่แค่ผิว ชี้ เป้าหมายสูงสุด คือทำให้กองทัพไม่อยู่ในฐานะรัฐอิสระ แนะ ควรปรับสัดส่วน ‘สภากลาโหม’ ให้เหลือแค่ 11 คน-มีทหารไม่เกินกึ่งหนึ่ง
อ่านเพิ่มเติม »
‘วิโรจน์’ ชี้กองทัพเรือไม่ผิด ’สุทิน’ อย่าไปรับจบเรือดำน้ำให้ไทยเสียเปรียบ แนะเลิกสัญญาอยากจะย้ำกับคุณสุทินว่า กองทัพเรือ ไม่เคยทำผิดสัญญากับ CSOC ดังนั้นคุณสุทินในฐานะ รมว.กลาโหม ต้องห้ามไปเองว่ากองทัพเรือของเราผิดสัญญา แล้วไปเจรจาให้ประเทศไทยเสียเปรียบ
อ่านเพิ่มเติม »
“วิโรจน์” ย้ำกองทัพเรือไทยไม่ได้ผิดสัญญาเรือดำน้ำ เตือน “สุทิน” อย่าไปเจรจากับจีนแบบรับจบ ทำไทยเสียประโยชน์เรื่องเล่าเช้านี้
อ่านเพิ่มเติม »