'ดอกเบี้ยนโยบาย ไม่ได้แก้ปัญหาเฉพาะจุด' รองประธาน กนง.แจง ปัจจัย-เงื่อนไข ทิศทาง “ดอกเบี้ย'

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

'ดอกเบี้ยนโยบาย ไม่ได้แก้ปัญหาเฉพาะจุด' รองประธาน กนง.แจง ปัจจัย-เงื่อนไข ทิศทาง “ดอกเบี้ย'
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 Thairath_News
  • ⏱ Reading Time:
  • 56 sec. here
  • 2 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 26%
  • Publisher: 63%

การประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.

การประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน วันที่ 10 เมษายนนี้ จะเป็นอีกครั้งที่หลายฝ่ายจับจ้องไปที่การตัดสินใจของคณะกรรมการฯ พร้อมกับปัจจัย เหตุผล คำอธิบาย ท่ามกลางสถานการณ์ดอกเบี้ยสูง เศรษฐกิจยังไม่ฟื้นตัวเต็มที่ และลูกหนี้โอดครวญแบกภาระดอกเบี้ยสุดต้านทานดอกเบี้ยนโยบาย เครื่องมือสำคัญของการดำเนินนโยบายการเงิน ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย ใช้สำหรับการดูแลภาพรวมเศรษฐกิจ เงินเฟ้อ และเสถียรภาพการเงิน พร้อมกับสถานการณ์ปัจจุบันด้วยเสียงวิพากษ์วิจารณ์ว่า “แบงก์ชาติ” ขึ้นดอกเบี้ยนโยบายต่อเนื่องและอยู่ในระดับสูง...

ให้สัมภาษณ์พิเศษ “ไทยรัฐ มันนี่” พูดถึงทิศทางนโยบายดอกเบี้ย ปัจจัยพิจารณา และแรงกดดันจากภาคส่วนต่างๆ กับการตัดสินใจของคณะกรรมการนโยบายการเงิน ว่า ในแถลงผลประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงินที่ผ่านมาทุกครั้ง จะบอกภาพชัดเจนว่า สิ่งที่ กนง.ดูในการตัดสินใจดำเนินนโยบายการเงิน จะมี 3 เรื่อง ได้แก่ แนวโน้มเศรษฐกิจการเงิน อัตราเงินเฟ้อ และเสถียรภาพการเงิน

ส่วนการส่งออก ต้องติดตามดูอีกระยะหนึ่ง เนื่องจากปีที่ผ่านมาส่งออกติดลบ และที่ผ่านมา การส่งออกของไทยมีทั้งปัจจัยเชิงวัฏจักร จากสถานการณ์ของประเทศคู่ค้าที่ยังไม่ฟื้นตัว จึงทำให้เศรษฐกิจของเรายังไม่ได้ประโยชน์จากการส่งออกมากนัก จึงทำให้ในช่วงเดือน ม.ค.-ก.พ.ปีนี้ก็ยังไม่เห็นการฟื้นตัวของการส่งออกที่ชัดเจนนัก

อลิศรา มหาสันทนะ รองผู้ว่าการด้านเสถียรภาพการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย และรองประธานคณะกรรมการนโยบายการเงิน อย่างไรก็ตาม รองประธาน กนง.กล่าวว่า ประเด็นเหล่านี้จะต้องมีการประเมินภาพและมองไปข้างหน้า และพร้อมที่จะปรับเปลี่ยนได้ ซึ่งในมุมมองของคณะกรรมการนโยบายการเงินเอง ถ้ากลับไปดูแถลงผลการประชุมฯ ที่ผ่านมา ก็จะเห็นชัดเจน แนวนโยบายของ กนง.คือ ถ้ามีแนวโน้มเศรษฐกิจการเงิน หรือเสถียรภาพการเงินเปลี่ยนไป ก็พร้อมจะปรับเปลี่ยนนโยบายการเงิน ให้เหมาะสม

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

Thairath_News /  🏆 8. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

มีผลแล้ว กรมอุทยาน จ่ายเยียวยา ปชช.ถูกลิงทำร้ายสูงสุด 1 แสนบาทมีผลแล้ว กรมอุทยาน จ่ายเยียวยา ปชช.ถูกลิงทำร้ายสูงสุด 1 แสนบาทเปิดหลักเกณฑ์ เงื่อนไข กรมอุทยานฯ จ่ายเงินเยียวยาประชาชนถูกลิงศาลพระกาฬ จ.ลพบุรี ทำร้ายสูงสุด 1 แสนบาท หลังมีผลบังคับเมื่อ 23 มี.ค.2567 ตรวจสอบรายละเอียดและช่องทางติดต่อขอเงินเยียวยา
อ่านเพิ่มเติม »

SME D Bank ออกสินเชื่อใหม่ 'จิ๋วสุดแจ๋ว' กู้ได้สูงสุด 5 แสน แถมรับประโยชน์ 2 ต่อSME D Bank ออกสินเชื่อใหม่ 'จิ๋วสุดแจ๋ว' กู้ได้สูงสุด 5 แสน แถมรับประโยชน์ 2 ต่อSME D Bank ออกสินเชื่อใหม่ 'จิ๋วสุดแจ๋ว' เสริมแกร่งรายย่อย 'เติมทุนคู่พัฒนา' วงเงินกู้สูงสุด 5 แสน ไม่ต้องใช้หลักทรัพย์ค้ำ แถมรับสิทธิประโยชน์ 2 ต่อ ลดค่าธรรมเนียม-ดอกเบี้ย
อ่านเพิ่มเติม »

คลังชง 7 แบงก์รัฐลดดอกเบี้ย กดดัน กนง.-ธ.พาณิชย์ลดตาม! หวังกระตุ้นเศรษฐกิจคลังชง 7 แบงก์รัฐลดดอกเบี้ย กดดัน กนง.-ธ.พาณิชย์ลดตาม! หวังกระตุ้นเศรษฐกิจคลัง ชง ครม.เคาะมาตรการการเงิน ให้แบงก์รัฐลดและตรึงดอกเบี้ย ช่วยแบ่งเบาภาระค่าครองชีพประชาชน เพื่อสร้างเม็ดเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ ส่งสัญญาณแบงก์พาณิชย์ต้องลดดอกเบี้ยให้ลูกค้าด้วย หวังประชุม กนง.วันที่ 10 เม.ย.
อ่านเพิ่มเติม »

ดร.สันติธาร เสถียรไทย: ‘โลกจะซับซ้อนกว่าที่คิด’ มองผลกระทบ AI ผ่านเลนส์ของนักเศรษฐศาสตร์ดร.สันติธาร เสถียรไทย: ‘โลกจะซับซ้อนกว่าที่คิด’ มองผลกระทบ AI ผ่านเลนส์ของนักเศรษฐศาสตร์Thairath Money สัมภาษณ์พิเศษ ดร.สันติธาร เสถียรไทย นักเศรษฐศาสตร์และกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ถึงการเข้ามาของ Generative AI ที่เปลี่ยนภาพเศรษฐกิจและเพิ่มความเหลื่อมล้ำกับใครก็ตามที่ปรับตัวไม่ทันในความเปลี่ยนแปลง
อ่านเพิ่มเติม »

หนี้ครัวเรือนสูง ​ศูนย์วิจัยกสิกรไทยหั่นจีดีพีไทยปี 67 ลงมาอยู่ที่ 2.8% จาก 3.1% คาด กนง.ลดดอกเบี้ย 2 ครั้งในปีนี้หนี้ครัวเรือนสูง ​ศูนย์วิจัยกสิกรไทยหั่นจีดีพีไทยปี 67 ลงมาอยู่ที่ 2.8% จาก 3.1% คาด กนง.ลดดอกเบี้ย 2 ครั้งในปีนี้หนี้ครัวเรือนสูง ​ศูนย์วิจัยกสิกรไทยหั่นจีดีพีไทยปี 67 ลงมาอยู่ที่ 2.8% จาก 3.1% คาด กนง.
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-26 06:31:28