ไม่ใช่แค่ค่าทนาย!!! TIJ-TDRI เผยสารพัดต้นทุนตลอดกระบวนการยุติธรรม เหลื่อมล้ำทำคนจนเสียเปรียบ คนจน ความเหลื่อมล้ำ ค่าทนาย กระบวนการยุติธรรม เสียเปรียบ ทนายความ
เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2566 สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย เผยแพร่บทความ “ไม่ได้แพงแค่ค่าทนาย แต่กระบวนการยุติธรรมมีราคาที่ต้องจ่ายตลอดทาง” ผ่านเพจเฟซบุ๊ก “Thailand Institute of Justice ” ดังนี้
ข้อมูลนี้ ถูกเปิดเผยในงานเสวนา “ความยุติธรรมมีราคาที่ต้องจ่าย” จัดโดย สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย โดยเปิดเผยงานวิจัยที่ทำร่วมกับสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาแห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นการนำงานวิจัยว่าด้วยเรื่อง “ต้นทุนและค่าเสียโอกาสในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมของประชาชน” ที่จัดทำขึ้นในปี พ.ศ. 2561 มาเผยแพร่เพื่อให้ประชาชนได้เข้าใจถึงค่าใช้จ่ายในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมของประเทศไทย
การขอคำปรึกษาทางกฎหมาย อาจเริ่มได้ที่เพียง 10 บาท กรณีใช้โทรศัพท์ไปขอคำปรึกษาทางกฎหมายจากสภาทนายความ/เนติบัณฑิตยสภา/กระทรวงยุติธรรม และค่าใช้จ่ายจะสูงขึ้นหากมีการเดินทาง หรือมีการว่าจ้างทนายความเพิ่มเติม แล้วแต่ความพึงพอใจของผู้ฟ้องร้องหรือผู้ถูกฟ้องร้อง “ในทางเศรษฐศาสตร์ เงินทุกบาทที่ใช้ของงบประมาณที่ใช้ไปเป็นภาษีของประชาชนในปีใดปีหนึ่ง หากเชื่อมโยงกับความยุติธรรม ก็ต้องอธิบายว่าต้นทุนในกระบวนการยุติธรรมยิ่งให้บริการมากเท่าไร ยิ่งมีคดีความมากเท่าไร ต้นทุนก็จะสูงขึ้นเรื่อย ๆ ก็ไม่อยากให้สูงเกินไป เพราะต้นทุนนี้ ท้ายที่สุดเป็นภาษีของประชาชน ต้องดูที่ผลประโยชน์ของประชาชนที่จะได้ หากมีข้อพิพาทกันในหลักที่แพง ก็จะได้ประโยชน์กว่าต้นทุนที่เกิดขึ้น แต่หากเป็นเรื่องเล็กๆ...
นอกจากต้นทุนที่สามารถวัดได้แล้ว การเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมยังรวมถึงต้นทุนแฝงที่มาพร้อมกันด้วย สิรินทิพย์ สมใจ ทนายความและนักวิชาการอิสระ Shero Thailand ให้ความเห็นในเรื่องนี้ไว้ว่า จากการเป็นทนายความอิสระให้คดีส่วนใหญ่ที่เกี่ยวข้องกับเหตุรุนแรงในครอบครัว ทำให้ได้พบเห็นค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เกิดขึ้นในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมของผู้ประสบเหตุ เช่น ค่าเดินทางและที่พักอาศัยระหว่างที่ต้องเดินทางระหว่างสถานที่เกิดเหตุกับสถานที่หลบภัย กรณีที่ต้องการหลีกหนีจากผู้ก่อเหตุ...
“คนเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมจริงๆ จะไม่ได้เป็นคนยากไร้ขนาดไม่มีเงิน แต่เป็นฐานะปานกลางที่มีปัญหาถึงร้อยละ 70-80 เราดูค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมเทียบกับรายได้ว่ามีปัญหาหรือไม่ อย่างกระทำผิดคดีผิดสัญญาแพ่ง ยิ่งถูกควบคุมตัวยิ่งทำอะไรไม่ได้ เพื่อให้โอกาสในการออกมาหาเงินเพื่อชดใช้ในคดีนั้นๆ”
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
TDRI ชี้เศรษฐกิจโลกถดถอย ฉุดภาค 'ส่งออก' ติดลบนักเศรษฐศาสตร์ประเมินจีดีพีปีนี้โตได้ 3-3.5% โดยมีแรงหนุนจากภาคการท่องเที่ยว ยังมีความเสี่ยงจากเศรษฐกิจถดถอยกระทบการส่งออกโตไม่ถึง 1% ส่วนนโยบายพรรคการเมืองช่วงการเลือกตั้งห่วงประชานิยมก่อหนี้สาธารณะเพิ่ม
อ่านเพิ่มเติม »
FETCO ผนึกพันธมิตรปลดล็อคกฎเกณฑ์ ลดต้นทุน หนุนขีดแข่งขัน สร้างนวัตกรรมตลาดทุนไทย7 องค์กรสมาชิกสภาธุรกิจตลาดทุนไทย ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (สำนักงาน ก.ล.ต.) และ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) เปิดตัว “โครงการพิจารณาปรับปรุงกฎหมายและกฎระเบียบที่เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินธุรกิจและการลงทุนในตลาดทุนไทย” โดยได้รับการสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมการพัฒนาตลาดทุน (CMDF) มุ่งผนึกกำลังทำงานเชิงรุกปรับลดกฎเกณฑ์ที่จะช่วยลดต้นทุนให้ผู้ประกอบธุรกิจและนักลงทุน ปลดล็อคให้เกิดการสร้างนวัตกรรมใหม่ๆในตลาดทุน เพื่อเพิ่มความสามารถทางการแข่งขันให้ตลาดทุนไทย เมื่อวันที่ 21 มี.ค.66 สภาธุรกิจตลาดทุนไทยในฐานะผู้แทนองค์กรเอกชนภาคตลาดทุน ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการก
อ่านเพิ่มเติม »
FETCO ผนึกพันธมิตรรื้อ กม.อุปสรรคตลาดทุนไทย ปลดล็อก ลดต้นทุน หนุนแข่งขัน สร้างนวัตกรรม : อินโฟเควสท์7 องค์กรสมาชิกสภาธุรกิจตลาดทุนไทย ร่วมกับ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) เปิดตัว “โครงการพิจารณาปรับปรุงกฎหมายและกฎระเบียบที่เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินธุรกิจและการลงทุนในตลาดทุนไทย” โดยได้รับการสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมการพัฒนาตลาดทุน (CMDF) มุ่งผนึกกำลังทำงานเชิงรุกปรับลดกฎเกณฑ์ที่จะช่วยลดต้นทุนให้ผู้ประกอบธุรกิจและนักลงทุน ปลดล็อกให้เกิดการสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ในตลาดทุน เพื่อเพิ่มความสามารถทางการแข่งขันให้ตลาดทุนไทย โครงการดังกล่าวจะดำเนินการศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบด้านต้นทุนของกฎหมายและกฎระเบียบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการขออนุญาต (Licenses) และการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการในตลาดทุน ภายใต้การสนับสนุนจาก กองทุนส่งเสริมการพัฒนาตลาดทุน (CMDF) โดยจัดตั้งคณะทำงานพิจารณาปรับปรุงกฎหมายที่เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินธุรกิจในตลาดทุนไทย เพื่อทำงานเชิงรุก ประสานพลังร่วมกับหน่วยงานราชการ เอกชน ผลักดันให้เกิดการทบทวนกฎหมายและกฎระเบียบ ลดขั้นตอนที่ล้าสมัย ไม่จำเป็นหรือที่เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินธุรกิจและการลงทุน (Regulatory Guillotines) เพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการ ลดต้นทุนให้ผู้ประกอบธุรกิจและนักลงทุน ลดความซ้ำซ้อนในการดำเนินงาน เอื้อต่อการสร้างนวัตกรรมและนำมาสู่การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมไทย นายกอบศักดิ์ ภูตระกูล ประธานกรรมการ FETCO กล่าวว่า การดำเนินงานเพื่อปฏิบัติตามกฎระเบียบและกฎหมายต่าง ๆ ล้วนมีค่าใช้จ่ายที่เป็นต้นทุนแฝงของผู้ประกอบธุรกิจ กฎระเบียบและกฎหมายที่ไม่จำเป็นหรือล้าสมัยย่อมส่งผลกระทบไปถึงการประกอบธุรกิจและการทำธุรกรรมในตลาดทุนของนักลงทุน นอกจากนี้ยังเป็นอุปสรรคต่อการสร้างนวัตกรรมและความสามารถในการแข่งขัน ทั้งทางด้านเศรษฐศาสตร์และตลาดทุนโดยรวม FETCO ในฐานะผู้แทนองค์กรเอกชนภาคตลาดทุน ขอขอบคุณสำนักงาน ก.ล.ต. และหน่วยงานพันธมิตรภาครัฐและเอกชนที่ให้เกียรติร่วมโครงการฯ ผมเชื่อว่าพลังความร่วมมือครั้งนี้ […]
อ่านเพิ่มเติม »
6 ปี “บัตรสวัสดิการ” งบทะลุ 3.3 แสนล้าน ช่วย “คนจน” จริงไหม?หนึ่งในโครงการที่ถูกใจประชาชนคงปฏิเสธไม่ได้ว่า “โครงการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ” น่าจะเป็นโครงการที่ได้ใจประชาชนมากที่สุดโครงการหนึ่งเลยก็ว่าได้ สะท้อนจากทุกๆ ปีที่รัฐบาลประกาศเปิดลงทะเบียน คนไทยจำนวนหลักสิบล้านคนตอบรับเข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นทุกปี อย่างปี 2566 ทันทีรัฐบาลประกาศเปิดโครงการลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ มีผู้สนใจเข้าโครงการเกือบ 20 ล้านคน ทำให้ต้องตั้งคำถามว่า โครงการนี้เป็นสร้างให้ “คนอยากจน” เพิ่มขึ้นในระบบ และคนจนจริงๆ ได้เข้าถึงสวัสดิการแห่งรัฐจริงหรือไม่หากย้อนดูตัวเลขผู้มีรายได้น้อยและเม็ดเงินภาษีที่นำใช้ในโครงการนี้ ตั้งแต่ปี 2561 – 2566ปีงบประมาณ 2561 ใช้งบประมาณ 43,614.5 ล้านบาท ผู้ได้รับสิทธิ์ 14.2 ล้านคนปีงบประมาณ 2562 ใช้งบประมาณ 93,155.4 ล้านบาท ผู้ได้รับสิทธิ์ 14.6 ล้านคนปีงบประมาณ 2563 ใช้งบประมาณ 47,843.5 ล้านบาท ผู้ได้รับสิทธิ์ 13.9 ล้านคนปีงบประมาณ 2564 ใช้งบประมาณ 48,216.0 ล้านบาท ผู้ได้รับสิทธิ์ 13.5 ล้านคนปีงบประมาณ 2565 ใช้งบประมาณ 34,986.4 ล้านบาท ผู้ได้รับสิทธิ์ 13.2 ล้านคนปีงบประมาณ 2566 ใช้งบประมาณ 65,413.80 ล้านบาท ผู้ได้รับสิทธิ์ 14.6 ล้านคนรวมแล้ว 6 ปี รัฐใช้งบประมาณรวมแล้วไม่ต่ำกว่า 3.3 แสนล้านบาท ขณะที่ตัวเลขผู้ได้รับสิทธิ์แต่ละปีเฉลี่ย 13-14 ล้านคน เรียกได้ว่า จำนวนผู้มีรายได้ไม่ลดลงและผู้ที่ได้รับสิทธิ์นี้เป็นคนจนจริงหรือไม่? รศ.ดร.นิพนธ์ พัวพงศกร นักวิชาการเกียรติคุณ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ให้ความเห็นว่า ปฏิเสธไม่ได้ว่าโครงการนี้ช่วยเหลือค่าครองชีพของประชาชนได้จริง แม้จะเป็นการช่วยระยะสั้นและเป็นประโยชน์ต่อผู้มีรายได้จริง แต่ก็ยังมีช่องโหว่เพราะคนที่ได้รับบัตรสวัสดิการ เป็นคนจนจริงหรือไม่ เพราะที่ผ่านมาระบบการคัดกรองของรัฐยังมีช่องโหว่ แรงงานส่วนใหญ่อยู่นอกระบบประกันสังคม เป็นเรื่องยากที่จะคัดกรองได้ว่าจนจริงหรือไม่ ทำให้ยังมีผู้มีรายได้น้อย ตกหล่นและหลุดออกระบบสวัสดิการของรัฐ ขณะเดียวกัน รัฐบาลยังมีจุดอ่อนในเรื่องการช่วยด้านการสร้างรายได้ สร้างอาชีพ แม้รัฐบาลจะมีแผนไว้อยู่แล้ว แต่ไม่เคยเดินหน้าอย่างจริงจังดังนั้นการคัดกรองบัตรสวัสดิการรอบใหม่ที่เปลี่ยนเกณฑ์การคัดกรองใหม่ ต้องรอประเมินผลว่าจะเป็นผู้ที่จนจริงหรือไม่ แต่ก็คาดหวังว่า เมื่อรัฐบาลประกาศผู้ที่ได้รับสิทธิ์จำเป็นต้องหาทางเพิ่มรายได้ให้ประชาชนด้
อ่านเพิ่มเติม »
นโยบายแจกปลาฟังแล้วนึกภาพตาม สิ่งที่ 'นิพนธ์ พัวพงศกร' นักวิชาการเกียรติคุณ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ซึ่งกำลังติดตามการนำเสนอนโยบายของพรรคการเมืองต่างๆ ในการหาเสียงครั้งนี้ เพื่อออกรายงานทางวิชาการของทีดีอาร์ไอ ออกมาพูด ฟังดูแล้ว...
อ่านเพิ่มเติม »