โฆษกรัฐบาล เผย ไทยเตรียมผลักดัน FTAAP ในการประชุมเอเปก เพื่อเป็นเขตการค้าเสรีที่ใหญ่ที่สุดในโลก ช่วยสนับสนุนเศรษฐกิจไทยให้เติบโตหลายมิติ
18 พ.ย.2565 - นายอนุชา บรูพชัยศรี รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ปฏิบัติหน้าที่โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า ในการประชุมเอเปกวันที่ 17-19 พฤศจิกายน 2565 นี้ จะมีการประชุมประเด็น เขตการค้าเสรีเอเชีย-แปซิฟิก หรือ Free Trade Area of the Asia-Pacific ซึ่งรัฐบาลได้ประชุมและร่างถ้อยแถลงร่วมรัฐมนตรีเอเปก ครอบคลุมประเด็นสำคัญ 47 หัวข้อ ซึ่งแบ่งเป็น 3 ประเด็นหลัก คือ 1.การเปิดกว้างต่อทุกโอกาส 2.การเชื่อมโยงในทุกมิติ และ 3.
นายอนุชา กล่าวว่า นอกจากนี้ ไทยจะเสนอแผนงานขับเคลื่อน FTAAP ได้รวบรวมประเด็นที่สมาชิกเอเปกสนใจร่วมกัน ทั้งการค้าดั้งเดิม การค้าใหม่และการฟื้นฟูเศรษฐกิจ โดยตั้งเป้าหมายของ FTAAP เพื่อขยายการค้าการลงทุนภายในเอเชีย-แปซิฟิก รวมทั้งลดอุปสรรคการค้าการลงทุนที่ไม่จำเป็น และเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของสมาชิกเอเปก และลดช่องว่างการพัฒนาทางเศรษฐกิจการค้าระหว่างกัน ทั้งนี้ ปัจจุบันกำลังทำแผนงาน FTAAP ระยะ 4 ปี ที่มุ่งสู่การจัดทำ FTAAP เพื่อตอบสนองสถานการณ์เศรษฐกิจโลก ด้านการค้า การลงทุน นวัตกรรม...
“รัฐบาลได้พยายามชูประเด็น เพื่อหารือการขับเคลื่อน FTAAP ซึ่งหวังให้เป็นเขตการค้าเสรีใหญ่ที่สุดในโลก ซึ่งเป็นกลไกสำคัญที่จะขจัดอุปสรรคทางการค้าระหว่างประเทศ และหนุนการเชื่อมโยงของห่วงโซ่อุปทานในกลุ่มสมาชิก เพื่อนำไปสู่การเจรจาการลดภาษีระหว่างกลุ่มเอเปกเป็นรายสินค้าได้มากขึ้น ในโอกาสนี้ เชื่อมั่นว่าจะช่วยสนับสนุนเศรษฐกิจไทยให้เติบโตหลายมิติ เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของไทยในระยะยาว รัฐบาลหวังเป็นอย่างยิ่งการผลักดัน FTAAP จะเป็นโอกาสที่ภาคธุรกิจสามารถขยายตัว โดยที่อุปสรรคทางการค้าลดลง...
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
ไทยเตรียมดัน 'FTAAP' ในเวทีประชุมเอเปค เป็นเขตการค้าเสรีที่ใหญ่ที่สุดในโลกโฆษกรัฐบาล เผยไทยเตรียมผลักดัน FTAAP ในการประชุมเอเปค เพื่อเป็นเขตการค้าเสรีที่ใหญ่ที่สุดในโลก วันที่ 18 พ.ย.65 นายอนุชา บรูพชัยศรี รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ปฏิบัติหน้าที่โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า ในการประชุมเอเปควันที่ 17-19 พฤศจิกายน 2565 นี้ จะมีการประชุมประเด็น เขตการค้าเสรีเอเชีย-แปซิฟิก หรือ Free Trade Area of the Asia-Pacific (FTAAP) ซึ่งรัฐบาลได้ประชุมและร่างถ้อยแถลงร่วมรัฐมนตรีเอเปค ครอบคลุมประเด็นสำคัญ 47 หัวข้อ ซึ่งแบ่งเป็น 3 ประเด็นหลัก คือ 1.การเปิดกว้างต่อทุกโอกาส 2.การเชื่อมโยงในทุกมิติ 3.ความสมดุลในทุกด้านในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ FTAAP นอกจากนี้ ไทยจะเส
อ่านเพิ่มเติม »
รมต.เอเปค ดัน BCG- FTAAP เคลื่อนศก. พร้อมส่งไม้ต่อสหรัฐฯเจ้าภาพปีหน้ารมต.เอเปค ดัน BCG- FTAAP เคลื่อนเศรษฐกิจพร้อมส่งไม้ต่อสหรัฐฯเจ้าภาพปีหน้า ด้าน “กต.”เผยเวทีรมต.เอเปคห่วงปมพลังงาน เงินเฟ้อ ความมั่งคงอาหาร เร่งBCG รับความท้าทาย
อ่านเพิ่มเติม »
เริ่มแล้วประชุมรัฐมนตรีเอเปคแบบเต็มคณะ 'ดอน-จุรินทร์' เป็นประธาน ผลักดัน FTAAPเริ่มแล้วประชุมรัฐมนตรีเอเปคแบบเต็มคณะ 'ดอน-จุรินทร์' เป็นประธาน ผลักดัน FTAAP เขตการค้าเสรีที่ใหญ่ที่สุดในโลก อ่านข่าว : เรื่องเล่าเช้านี้ ข่าวช่อง3 ข่าวการเมือง APEC2022 APEC2022THAILAND
อ่านเพิ่มเติม »
จุรินทร์-ดอน เปิดวงประชุมรัฐมนตรี APEC ผลักดัน FTAAP เขตการค้าเสรีที่ใหญ่ที่สุดของโลกจุรินทร์-ดอน เปิดวงประชุมรัฐมนตรี APEC ผลักดัน FTAAP เขตการค้าเสรีที่ใหญ่ที่สุดของโลก ภาพ: ชาติกล้า สำเนียงแจ่ม TheStandardPhoto TheStandardNews
อ่านเพิ่มเติม »
KTB ชี้ APEC หนุนไทยได้ประโยชน์ท่องเที่ยว-ส่งออก เพิ่มความสามารถการแข่งขันระยะยาว : อินโฟเควสท์ศูนย์วิจัยธนาคารกรุงไทย (Krungthai COMPASS) ระบุว่า การประชุม APEC ครั้งที่ 29 ซึ่งไทยเป็นเจ้าภาพในปีนี้ จัดขึ้นภายใต้หัวข้อ “เปิดกว้างสร้างสัมพันธ์ เชื่อมโยงกัน สู่สมดุล (Open Connect Balance)” Krungthai COMPASS มองว่าควรจับตาการผลักดันการขับเคลื่อนเขตการค้าเสรีเอเชีย-แปซิฟิก (FTAAP) ซึ่งจะเป็นกลไกสำคัญในการขจัดอุปสรรคทางการค้าระหว่างประเทศ และหนุนการเชื่อมโยงของห่วงโซ่อุปทานในหมู่สมาชิก อีกทั้งคาดว่าการประชุมในครั้งนี้ จะช่วยสนับสนุนเศรษฐกิจไทยให้เติบโตได้ดีขึ้นในหลายมิติ ซึ่งจะมีส่วนช่วยเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของไทยในระยะยาวได้ ซึ่งไทยจะนำเสนอแผนงานการขับเคลื่อน FTAAP โดยมีเป้าหมายให้สามารถจัดตั้งขึ้นได้ภายในปี 2583 โดยจะผลักดันให้ผู้นำ APEC ออกแถลงการณ์ร่วมเพื่อรับรองแผนงานดังกล่าว (2) การจัดตั้งกลไก APEC Safe Passage เพื่อส่งเสริมการเดินทางที่สะดวกและปลอดภัยระหว่างกลุ่มสมาชิก ซึ่งจะช่วยผลักดันการขยายตัวของภาคการท่องเที่ยว และ (3) การส่งเสริมการเจริญเติบโตที่ยั่งยืน โดยสนับสนุนภาคธุรกิจและยกระดับวิสาหกิจ MSME เพื่อดำเนินกิจการอย่างสมดุลและรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม ผ่านการขับเคลื่อนการเงินที่ยั่งยืนและเศรษฐกิจดิจิทัล โดยไทยได้เสนอโมเดลเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular-Green Economy: BCG) เป็นแนวคิดหลักในการประชุมครั้งนี้ ในบรรดาความริเริ่มของไทยดังกล่าว การขับเคลื่อน …
อ่านเพิ่มเติม »