ไทยยิ้มผู้ป่วยโควิด105ปี 14วันใช้LAABรักษาหาย หนังสือพิมพ์ ไทยโพสต์ออนไลน์ ไทยโพสต์
เมื่อวันอาทิตย์ที่ 18 กันยายน ศูนย์ข้อมูล COVID-19 รายงานสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 ของไทยว่า พบผู้ป่วยรายใหม่รักษาตัวในโรงพยาบาล 477 ราย ซึ่งเป็นตัวเลขต่ำกว่า 1,000 รายต่อเนื่องเป็นวันที่สาม ทำให้มีผู้ป่วยสะสม 4,673,387 ราย มีผู้หายป่วยกลับบ้านเพิ่ม 1,170 ราย หายป่วยสะสม 2,463,041 ราย ผู้ป่วยกำลังรักษา 9,223 ราย โดยเป็นผู้ป่วยปอดอักเสบรักษาตัวอยู่ใน รพ.
นพ.โอภาส การย์กวินพงศ์ อธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าวว่า การที่ไทยจัดหาภูมิคุ้มกันสำเร็จรูป หรือ Long Acting Antibody ให้กลุ่มที่จำเป็นในการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคโควิด-19 โดยเฉพาะสำหรับผู้ป่วยภูมิคุ้มกันต่ำ และกลุ่มเสี่ยง 608 ซึ่งไทยมีการนำเข้าภูมิคุ้มกันสำเร็จรูป LAAB และฉีดครั้งแรกให้ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ได้รับการฟอกไต ที่ สถาบันบำราศนราดูร เมื่อวันที่ 27 ก.ค.2565 และส่งไปยังจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศ ตั้งแต่วันที่ 1 ส.ค.
นพ.โอภาสกล่าวเพิ่มเติมว่า ช่วงต้นเดือน ก.ย.2565 พบผู้ป่วยโรคโควิด-19 รายหนึ่ง อายุ 105 ปี และยังไม่เคยฉีดวัคซีนโควิด-19 เข้ารับการรักษาที่ รพ.แห่งหนึ่ง เมื่อวันที่ 3 ก.ย.2565 โดยมีอาการไข้สูง มีเสมหะ ค่าออกซิเจนในเลือดต่ำ และต่อมามีปอดติดเชื้อแบคทีเรีย ผู้ป่วยรายนี้ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสในวันแรก แต่เนื่องจากมีอายุมากเสี่ยงต่อการเสียชีวิต แพทย์จึงพิจารณาให้ภูมิคุ้มกันสำเร็จรูป หรือ LAAB แก่ผู้ป่วยด้วยในวันที่ 4 ก.ย.2565 ร่วมกับยาปฏิชีวนะ ซึ่งตั้งแต่วันที่ 10 ก.ย.
นายอนุชา บูรพชัยศรี รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ปฏิบัติหน้าที่โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เผยว่า รัฐบาลห่วงใยประชาชนในข่าย 7 กลุ่มเสี่ยง เนื่องจากในช่วงนี้พบการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่มากขึ้น อีกทั้งยังเป็นช่วงที่มีการผ่อนคลายมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ซึ่งอาจทำให้ประชาชนลดความเคร่งครัดในการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโควิดลง โดยเฉพาะการไม่สวมหน้ากากอนามัย...
ทั้งนี้ ประชาชน 7 กลุ่มเสี่ยง ได้แก่ 1.หญิงตั้งครรภ์ อายุครรภ์ 4 เดือนขึ้นไป 2.เด็กอายุ 6 เดือนถึง 2 ปีทุกคน 3.ผู้มีโรคเรื้อรัง 4.บุคคลที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป 5. โรคธาลัสซีเมียและผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง 6. โรคอ้วน และ 7.ผู้พิการทางสมองที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
สธ. เผยผู้ป่วยอายุ 105 ปี หายโควิด หลังรับ ภูมิคุ้มกันสำเร็จรูปติดตามข่าวอีจัน ข่าวเกาะติดกระแส ข่าวล่าสุด คลิปข่าวล่าสุด ข่าวร้อนล่าสุด อีจันบันเทิง อาชญากรรม คดีดัง สืบสวนสอบสวน ข่าววันนี้ ทันทุกเหตุการณ์ ทุกเรื่องเด่น ทุกประเด็นร้อน อัพเดทข่าวสด รู้ข่าวสารก่อนใคร ไม่พลาดทุกเรื่องราวที่
อ่านเพิ่มเติม »
ผู้ป่วย 'โควิด19' อายุ 105 ปี ไม่เคย 'ฉีดวัคซีน' รับการรักษา LAAB อาการดีขึ้นผู้ป่วยติดเชื้อไวรัส 'โควิด19' อายุ 105 ปี ประวัติไม่เคย 'ฉีดวัคซีน' ได้รับการรักษา LAAB อาการดีขึ้นตามลำดับ ข่าว ข่าววันนี้ คมชัดลึก โควิด คมชัดลึกออนไลน์ โควิด19 ผู้ป่วยโควิด ฉีดวัคซีน ผู้ติดเชื้อรายใหม่ เชื้อไวรัสโคโรนา2019
อ่านเพิ่มเติม »
สธ.เผยผลสำเร็จฉีดภูมิคุ้มกัน LAAB ช่วยรักษาผู้ป่วยโควิด 105 ปี ไม่มีประวัติรับวัคซีนสธ.เผยผลสำเร็จฉีดภูมิคุ้มกัน LAAB ช่วยรักษาผู้ป่วยโควิด 105 ปี ไม่มีประวัติรับวัคซีน isranews สำนักข่าวอิศรา โควิด19
อ่านเพิ่มเติม »
'หมอโอภาส' เผยให้ภูมิคุ้มกันสำเร็จรูปป่วยโควิดอายุ105ปีช่วยชีวิตได้ | เดลินิวส์อธิบดีกรมควบคุมโรคเผยให้ภูมิคุ้มกันสำเร็จรูปผู้ป่วยโควิดอายุ 105 ปี ช่วยเซฟชีวิตได้ภายใน 2 สัปดาห์ จ่อเพิ่มกลุ่มเป้าหมายจ่าย LAAB เดลินิวส์ โควิดวันนี้ โควิด19
อ่านเพิ่มเติม »
สธ.เผยเคส ผู้ป่วยอายุ 105 ปีไม่เคยฉีดวัคซีน หายจากโควิดได้เพราะสิ่งนี้?สธ.เผยเคส ผู้ป่วยอายุ 105 ปีไม่เคยฉีดวัคซีน หายจากโควิดได้เพราะสิ่งนี้? วัคซีนโควิด โอมิครอน โอไมครอน Omicron โควิด19 โควิดวันนี้ COVID_19 โควิด COVID19 TNN TNNThailand TNNช่อง16 TNNONLINE
อ่านเพิ่มเติม »
สธ.เผยผู้ป่วยอายุ 105 ปี หายจากโควิด-19 หลังได้รับภูมิคุ้มกันสำเร็จรูป : อินโฟเควสท์นพ.โอภาส การย์กวินพงศ์ อธิบดีกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) กล่าวว่า จากการที่ประเทศไทยได้จัดหาภูมิคุ้มกันสำเร็จรูป หรือ Long Acting Antibody (LAAB) ให้ประชาชนกลุ่มที่มีความจำเป็น นับเป็นการยกระดับการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคโควิด 19 เพื่อดูแล ป้องกันสุขภาพของประชาชน โดยเฉพาะสำหรับผู้ป่วยภูมิคุ้มกันต่ำ ร่างกายไม่สามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้ด้วยการฉีดวัคซีนกลุ่มเสี่ยง 608 เช่น ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ได้รับการฟอกไต ผู้ปลูกถ่ายอวัยวะหรือไขกระดูกที่ได้รับยากดภูมิ ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง ซึ่งกลุ่มนี้หากติดเชื้ออาจเสี่ยงเกิดอาการป่วยรุนแรงหรือมีโอกาสเสียชีวิตสูง การทำงานของภูมิคุ้มกันสำเร็จรูปหรือ LAAB จะช่วยเสริมภูมิคุ้มกันในผู้ที่ตอบสนองต่อวัคซีนได้น้อยกว่าคนทั่วไป เมื่อฉีดเข้าไปแล้วร่างกายจะสร้างภูมิต้านทานต่อเชื้อโควิดได้สูงทันทีภายหลังฉีด ทำให้เกิดประโยชน์อย่างมาก ในการลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตในกลุ่มผู้ป่วยดังกล่าว ซึ่งในต่างประเทศมีการขึ้นทะเบียนใช้ภูมิคุ้มกันสำเร็จรูป LAAB ในการรักษาผู้ป่วยโควิดกลุ่มเปราะบางที่เสี่ยงต่อการเสียชีวิตด้วย เช่น สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ทั้งนี้ ในประเทศไทยได้นำเข้าภูมิคุ้มกันสำเร็จรูป LAAB และฉีดครั้งแรกให้กับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ได้รับการฟอกไต ที่สถาบันบำราศนราดูร เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2565 และส่งไปยังจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2565 กลุ่มเป้าหมายระยะแรกผู้ป่วยไตวายระยะเรื้อรังที่ต้องได้รับการบำบัดทดแทนไต (ฟอกไต) ผู้ที่ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะ ผู้ป่วยปลูกถ่ายไขกระดูก …
อ่านเพิ่มเติม »