ไขข้อข้องใจ 'กินแล้วนอน' เสี่ยงเกิดโรคมะเร็งหลอดเลือดจริงหรือ? โรคมะเร็งหลอดเลือด มะเร็งหลอดเลือด มะเร็ง TNN TNNThailand TNNช่อง16 TNNONLINE
ไขข้อข้องใจ "กินแล้วนอน" เสี่ยงเกิดโรคมะเร็งหลอดเลือดจริงหรือ? สถาบันมะเร็งแห่งชาติ ชี้แจงแล้ว เป็นข้อมูลเท็จทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยสถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ
กรณีที่มีการเผยแพร่ข้อมูลว่ากินแล้วนอน ทำให้เสี่ยงเกิดโรคมะเร็งหลอดเลือด ทางสถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่ายังไม่มีหลักฐานที่ยืนยันแน่ชัดว่าการกินแล้วนอนเสี่ยงเกิดเป็นโรคมะเร็งหลอดเลือด ซึ่งพฤติกรรมกินแล้วนอนเป็นพฤติกรรมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพหลายด้าน โดยเฉพาะอาการแสบร้อนกลางอกและอาการกรดไหลย้อน
อย่างไรก็ตาม อาการเหล่านี้เกิดจากภาวะที่หูรูดบริเวณส่วนปลายของหลอดอาหาร ทำงานผิดปกติทำให้กรดหรือน้ำย่อยภายในกระเพาะอาหารไหลย้อนกลับขึ้นไปในบริเวณหลอดอาหาร ส่งผลให้เกิดการระคายเคืองและอักเสบเรื้อรังบริเวณหลอดอาหารและบริเวณกล่องเสียงได้ นอกจากนี้พฤติกรรมกินแล้วนอนอาจส่งผลให้เกิดโรคอื่น ๆ ตามมา เช่น โรคนอนไม่หลับ โรคอ้วน เป็นต้น จึงควรปรับพฤติกรรมโดยเว้นระยะเวลาการรับประทานอาหารและการนอนให้ห่างกันอย่างน้อย 2 – 3...
ดังนั้นขอให้ประชาชนอย่าหลงเชื่อข้อมูลดังกล่าว และขอความร่วมมือไม่ส่ง หรือแชร์ข้อมูลดังกล่าวต่อในช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ต่าง ๆ และเพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารสถาบันมะเร็งแห่งชาติ สามารถติดตามได้ที่เว็บไซต์
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
วางโทรศัพท์ติดตัวไม่ปิดอินเทอร์เน็ต เสี่ยงเป็นมะเร็งได้จริงหรือ?ตามที่มีการเผยแพร่ข้อมูลประเด็นเรื่อง วางโทรศัพท์ติดตัวโดยไม่ปิดอินเทอร์เน็ต มีโอกาสเป็นมะเร็งได้ในไม่ช้า ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยสถาบันมะเร็งแห่งชา
อ่านเพิ่มเติม »
ไขข้อสงสัย! กินยาแคปซูลมาก เป็นอันตรายต่อร่างกายจริงหรือ?ตามที่มีการแชร์ข้อความชวนเชื่อผ่านโซเชียลมีเดียเกี่ยวกับประเด็นเรื่องกินยาแคปซูลมาก จะได้รับอันตรายจากตัวแคปซูล ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยสำนักงานคณะก
อ่านเพิ่มเติม »
เล่นมือถือนานๆ ทำหน้าเบี้ยวผิดรูป หมอตอบชัดจริงหรือไม่?ตามที่มีการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับประเด็นเรื่อง เล่นมือถือนาน ๆ ทำให้หน้าเบี้ยวผิดรูป ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด
อ่านเพิ่มเติม »
“ตำแหน่งสิว” บอกอาการป่วยของโรคได้ หมอผิวหนังตอบชัดจริงหรือไม่?ตามที่มีข้อมูลในประเด็นเรื่องตำแหน่งสิวสามารถบอกโรคได้ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยสถาบันโรคผิวหนัง กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้
อ่านเพิ่มเติม »
จริงหรือไม่? เคี้ยวหมากพลูช่วยต้านมะเร็ง-ลดกลิ่นปากจากกรณีการแนะนำข้อมูลด้านสุขภาพเกี่ยวกับประเด็นเรื่องหมากพลูช่วยต้านมะเร็ง และลดกลิ่นปาก ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงกับสถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ กร
อ่านเพิ่มเติม »