ไขข้อสงสัย วายร้ายโควิด 'XBB.1.16' ทำไมจึงตรวจ ATK ไม่ขึ้น มีคำตอบให้แล้ว COVID19 โควิด19 ข่าววันนี้ NationOnline
เป็นการผสมระหว่าง BA.2.10.1 และ BA.2.75 มีการกลายพันธุ์ที่ตำแหน่งโปรตีนหนาม ได้แก่ E180v , F486P ซึ่งเหมือนกับสายพันธุ์ XBB.1.5 และ K478R ซึ่งกรณีเดลตาจะเป็นตำแหน่ง T478K โดยการกลายพันธุ์ที่ตำแหน่ง 478 เหมือนเดลตา แต่ยืนยันว่า ไม่ทำให้เชื้อรุนแรงเหมือนเดลตา ขณะนี้ ข้อมูลทั่วโลกพบผู้ป่วย XBB.1.16 ในอินเดียมากที่สุด รองมาเป็นสหรัฐอเมริกา ซึ่งเพิ่มขึ้นจาก 4 % เป็น 7 %ซึ่งมากกว่าภาพรวมของโลก ส่วนแพร่เร็วกว่า BA.1.
การหลบภูมิคุ้มกัน จะทำให้ผู้ที่เคยติดเชื้อแล้ว สามารถติดเชื้อได้อีก วัคซีนโควิด-19ในการป้องกันการติดเชื้อ ก็ได้ผลลดลง แต่หากติดเชื้อแล้วอาการจะไม่รุนแรง ส่วนความรุนแรงWHO รายงานว่า ยังไม่มีหลักฐานแสดงว่า XBB.1.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
อาการโควิด เทียบชัด โอไมครอน 'XBB.1.16' และ XBB.1.5 พบอาการใหม่ 1 อาการอาการโควิด เทียบชัด ๆ โอไมครอน 'XBB.1.16' และ XBB.1.5 พบอาการใหม่ 1 อาการที่เพิ่งเคยมีตั้งแต่เกิดการระบาดของ โควิด เช็กอาการรุนแรงหรือไม่ อาการโควิด XBB15 XBB116 อาการXBB116 อาการXBB15 คมชัดลึกออนไลน์
อ่านเพิ่มเติม »
กรมวิทย์ฯยันโควิด XBB.1.16 ตรวจ ATK ได้ผล ไม่แรงเท่าเดลต้า ชี้ 'ตาแดง' ไม่ใช่ข้อบ่งชี้กรมวิทย์ฯยันโควิด XBB.1.16 ตรวจ ATK ได้ผล ไม่แรงเท่าเดลต้า ชี้ ‘ตาแดง’ ไม่ใช่ข้อบ่งชี้
อ่านเพิ่มเติม »
ตาแดงเป็นอาการของโควิดสายพันธุ์ XBB.1.16 หรือไม่ เช็คเลยที่นี่ตาแดงเป็นอาการของโควิดสายพันธุ์ XBB.1.16 หรือไม่ เช็คเลยที่นี่มีคำตอบ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เผยยันวิธีตรวจด้วย ATK ยังสามารถใช้ได้ตรวจโปรตีนโควิดพันธุ์ไหนก็ต้องมี แต่การตรวจ PCR จะตรวจได้เจอมากกว่า โควิด โควิด19 โควิดสายพันธุ์ใหม่ ตาแดง
อ่านเพิ่มเติม »
สธ.วาง 3 มาตรการป้องกันระบาดโควิด-19สธ.เผยหลัง “สงกรานต์” อาจพบป่วย “โควิด” มากขึ้น วาง 3 มาตรการป้องกันระบาด ส่วนสายพันธุ์ XBB.1.16 ยังไม่พบรุนแรง-หลบภูมิมากกว่าตัวอื่น…
อ่านเพิ่มเติม »
เปิด 3 มาตรการคุมโควิด19 หลัง 'สงกรานต์' หวั่นติดเชื้อพุ่งพบ XBB 1.16 ระบาดเช็กเลย 3 มาตรการ กระทรวงสาธารณสุข วางคุม 'โควิด-19' หลัง 'สงกรานต์' ส่อติดเชื้อพุ่ง พบสายพันธุ์ XBB 1.16 ระบาดทั่วโลก อาจเป็นสายพันธุ์หลักต่อไป
อ่านเพิ่มเติม »