ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา ค่าเงินบาทของไทยเผชิญกับพายุความผันผวนแบบรถไฟเหาะตีลังกา ทั้งแข็งค่าแตะ 32 บาทต่อดอลลาร์ และอ่อนลงไปใกล้ 38 บาทต่อดอลลาร์ ส่วนการแข็งค่ามาอยู่ระดับเกิน 32.
เขียนคอลัมน์วันนี้ จากการถูกตั้ง 2 โจทย์คำถามเกี่ยวกับ “ค่าเงินบาท” คำถามแรกคือ หลายคนกังวลใจเกี่ยวกับ “ค่าเงินบาท” ที่แข็งค่าขึ้นต่อเนื่องมาระยะหนึ่งแล้ว ว่าจะแข็งค่าขึ้นต่อไปมากและนานแค่ไหน มีโอกาสหรือไม่ที่เราจะกลับมาเห็น “อัตราแลกเปลี่ยนค่าเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ” อยู่ที่ 30 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ
ในทางตรงกันข้าม หากเทียบกับวันที่ 23 ก.พ.2565 ค่าเงินบาทของไทยอยู่ที่ 32.1267 บาทต่อดอลลาร์ฯ ซึ่งแข็งค่ากว่าในขณะนี้ แสดงให้เห็นว่า ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา ค่าเงินบาทของไทยเผชิญกับพายุความผันผวนแบบรถไฟเหาะตีลังกา ทั้งแข็งค่าแตะ 32 บาทต่อดอลลาร์ และอ่อนลงไปใกล้ 38 บาทต่อดอลลาร์ แต่เมื่อเฟดกลับลำมาลดดอกเบี้ยลงครั้งแรกในวันที่ 18 ก.ย.ที่ผ่านมา และเป็นการลดลงแรงถึง 0.5% ต่อปี ส่งผลให้เงินทุนที่เคยลงทุนในดอลลาร์สหรัฐฯ กลับทิศ ทิ้งดอลลาร์ออกมาลงทุนในสกุลเงินอื่น ส่งผลให้ทุกสกุลแข็งค่าขึ้น โดยเฉพาะประเทศที่อัตราดอกเบี้ยนโยบายอยู่ในระดับไม่ต่ำจนเกินไป
นอกจากนั้น การแข็งขึ้นของค่าเงินบาท ยังสะท้อนโดยตรงถึงความเชื่อมั่นของนักลงทุนต่างชาติต่อเศรษฐกิจไทย ซึ่งตั้งแต่ประเทศไทยสามารถมีรัฐบาลบริหารประเทศได้อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่รัฐบาลนายกฯ เศรษฐา ทวีสิน และมั่นคงมากขึ้น เมื่อมาถึงรัฐบาลแพทองธาร ชินวัตร ส่งผลให้มีเงินไหลเข้ามาลงทุนในตลาดหุ้น และตลาดพันธบัตรของไทยเพิ่มขึ้นอย่างไรก็ตาม หากถามว่า ค่าเงินบาทที่แข็งขึ้นมากวันนี้สะท้อนเศรษฐกิจไทยที่แท้จริงหรือไม่ นักบริหารเงินของธนาคารพาณิชย์ชั้นนำหลายแห่ง ตอบตรงกันว่า ค่าเงินบาทที่ 32.
เท่าที่รู้ว่า ในช่วงก่อนหน้า ธปท.ก็มีการเข้าแทรกแซงค่าเงินบาทเป็นระยะๆ เช่นกัน ในวันที่ค่าเงินบาทแข็งเร็วและแรงเกินไป แต่อาจจะไม่ได้แทรกแซงถึงขนาดหยุดการแข็งค่าของเงินบาทไว้ที่ใดที่หนึ่ง เพราะทุกการแทรกแซงของ ธปท.เพื่อให้บาทอ่อน ก็คือ การซื้อดอลลาร์ทั้งแบบทันที และแบบล่วงหน้า ซึ่งแน่นอนว่าไม่มีอะไรได้มาฟรี “มีต้นทุนที่ต้องแบกรับ” ยิ่งแทรกแซงมากเท่าไร ธปท.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
Krungthai GLOBAL MARKETS เผยค่าเงินบาทเปิด 32.40 บาทต่อดอลลาร์ “แข็งค่าขึ้น”Krungthai GLOBAL MARKETS เผยค่าเงินบาทเปิดเช้านี้ที่ระดับ 32.40 บาทต่อดอลลาร์ “แข็งค่าขึ้น” จากระดับปิดวันก่อนหน้าที่ระดับ 32.55 บาทต่อดอลลาร์ เมื่อวันที่ 27 กันยายน 2567 นายพูน พานิชพิบูลย์ นักกลยุทธ์ตลาดเงินตลาดทุน Krungthai GLOBAL MARKETS ธนาคารกรุงไทย เปิดเผยว่า นับตั้งแต่ช่วงคืนที่ผ่านมา เงินบาททยอยแข็งค่าขึ้นต่อเนื่อง จนทะลุโซนแนวรับสำคัญ 32.
อ่านเพิ่มเติม »
Krungthai GLOBAL MARKETS เผยค่าเงินบาทเปิด 32.60 บาทต่อดอลลาร์ “แข็งค่าขึ้นมาก”Krungthai GLOBAL MARKETS เผยค่าเงินบาทเปิดเช้านี้ที่ระดับ 32.60 บาทต่อดอลลาร์ “แข็งค่าขึ้นมาก” จากระดับปิดวันก่อนหน้าที่ระดับ 32.85 บาทต่อดอลลาร์ เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2567 นายพูน พานิชพิบูลย์ นักกลยุทธ์ตลาดเงินตลาดทุน Krungthai GLOBAL MARKETS ธนาคารกรุงไทย เปิดเผยว่า นับตั้งแต่ช่วงคืนที่ผ่านมา เงินบาทแข็งค่าขึ้นต่อเนื่อง (กรอบการเคลื่อนไหว 32.
อ่านเพิ่มเติม »
Krungthai GLOBAL MARKETS เผยค่าเงินบาทเปิด 33.27 บาทต่อดอลลาร์ “อ่อนค่าลงเล็กน้อย”Krungthai GLOBAL MARKETS เผยค่าเงินบาทเปิดเช้านี้ที่ระดับ 33.27 บาทต่อดอลลาร์ “อ่อนค่าลงเล็กน้อย” จากระดับปิดวันก่อนหน้าที่ระดับ 33.21 บาทต่อดอลลาร์ เมื่อวันที่ 17 ก.ย.
อ่านเพิ่มเติม »
เงินบาทวันนี้อยู่ที่ 36.80-37.05เปิดเเช้าแข็งค่าขึ้นแตะ36.93บาท/ดอลลาร์Krungthai GLOBAL MARKETS มองเงินบาทวันนี้อยู่ที่ 36.80-37.05 บาทต่อดอลลาร์ เปิดเเช้าแข็งค่าขึ้นแตะ 36.93 บาทต่อดอลลาร์ โดยคาดดอลลาร์ยังแกว่งตัวในกรอบ sideways รอลุ้นตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐฯ
อ่านเพิ่มเติม »
ช่วงเงินบาทวันนี้36.75-37เปิดเช้าอ่อนเล็กน้อยมาอยู่36.85บาท/ดอลลาร์Krungthai GLOBAL MARKETS ชี้เงินบาทวันนี้กรอบ 36.75-37 บาทต่อดอลลาร์ โดยเปิดเช้าอ่อนเล็กน้อยมาอยู่ 36.85 บาทต่อดอลลาร์ มีปัจจัยอ่อนค่าทั้งจากแรงขายสินทรัพย์ไทยโดยต่างชาติ โฟลว์จ่ายเงินปันผลให้กับนักลงทุนนอก และดอลลาร์รีบาวด์แข็งค่าขึ้น
อ่านเพิ่มเติม »
เงินบาทวันนี้36.65-36.90 เปิดเช้าแข็งขึ้นไม่มากอยู่ที่ 36.78บาท/ดอลลาร์Krungthai GLOBAL MARKETS แนะเงินบาทวันนี้36.65-36.90 บาทต่อดอลลาร์ ขณะที่เปิดเช้าแข็งขึ้นไม่มากอยู่ที่ 36.78 บาทต่อดอลลาร์ โดยเงินบาทมีสัญญาณอ่อนค่าลง พร้อมจับตาทางการญี่ปุ่นจะเข้าแทรกแซงตลาดค่าเงิน เพื่อหนุนให้เงินเยนในช่วง 155 เยนต่อดอลลาร์
อ่านเพิ่มเติม »