โลก-ทัศน์-พัฒน์-พิษ (15) : จากพึ่งพิงธรรมชาติ-เกษตรกรรม สู่ “อุตสาหกรรม”(9)

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

โลก-ทัศน์-พัฒน์-พิษ (15) : จากพึ่งพิงธรรมชาติ-เกษตรกรรม สู่ “อุตสาหกรรม”(9)
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 siamrath_online
  • ⏱ Reading Time:
  • 57 sec. here
  • 2 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 26%
  • Publisher: 63%

สถาพร ศรีสัจจัง “… วัฒนธรรมทวารวดีมีพื้นฐานมาจากวัฒนธรรมช่วงก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย ผสมเข้ากับวัฒนธรรมอินเดียที่แพร่หลายเข้ามายังภูมิภาคนี้ ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรมของผู้คนในแถบนี้ในแง่มุมต่างๆ ทั้งการนับถือศาสนา การสร้างบ้านเมือง และระเบียบแบบแผนทางสังคม…” ข้อความที่เป็นเหมือน “ข้อสรุป”...

“… วัฒนธรรมทวารวดีมีพื้นฐานมาจากวัฒนธรรมช่วงก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย ผสมเข้ากับวัฒนธรรมอินเดียที่แพร่หลายเข้ามายังภูมิภาคนี้ ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรมของผู้คนในแถบนี้ในแง่มุมต่างๆ ทั้งการนับถือศาสนา การสร้างบ้านเมือง และระเบียบแบบแผนทางสังคม…”

ที่ภายหลังนักวิชาการตะวันตกสรุปเรียกว่า “ระบบศักดินานิยม” และ เราก็เรียกตามอย่างเซื่องๆสืบมา นครินทร์ แก้วโชติรุ่ง ผู้ทำการศึกษาวิจัยในหัวข้อ “รูปแบบการปกครองของรัฐในสมัยพุทธกาล” เพื่อเป็นวิทยานิพนธ์ระดับดุษฎีบัณฑิต ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย สรุปไว้ใน “บทคัดย่อ” ของเขาตอนหนึ่งว่า

“ไม่มีใครรู้แน่ชัดว่าราชาธิปไตยก่อตั้งครั้งแรกเมื่อใด แต่เป็นที่เชื่อว่าระบบนี้เกิดขึ้น เมื่อสังคมในยุคแรกๆเริ่มมีความซับซ้อน เริ่มมีกลุ่มชนผู้ชำนาญการ เช่น ขุนนาง นักรบ นักบวช ชาวนา ชาวไร่เกิดขึ้น สังคมเช่นนี้มีความจำเป็นต้องมีการบริหารจัดการมากขึ้น จึงปรากฏบุคคลคนหนึ่งขึ้นมา เพื่อควบคุมและชี้นำกลุ่มชนเหล่านี้ คนคนนี้คือกษัตริย์…”

ที่สำคัญมากก็คือ การศึกษาของนครินทร์ดังกล่าวยังแสดงหลักฐานให้เห็นอย่างชัดเจนด้วยว่า ระบบ “ราชาธิปไตย” หรือระบบ “ศักดินา” แบบอินเดียนั้น ชนชั้นนำหรือ “ชนชั้นศักดินา” ที่อาจถูกเรียกว่า “มหาสมมติ” “พระราชา” หรือ “กษัตริย์” ก็ตาม จะถูกคนส่วนใหญ่ในประชาคมหรือ “มหาชน” ยอมรับให้เป็นผู้นำได้อย่างแท้จริง ก็ต่อเมื่อเขาจะต้องปฏิบัติตน “เป็นคนดี” ตามหลักเกณฑ์ของศาสนธรรมอย่างเคร่งครัดเท่านั้น!“…แม้พระมหากษัตริย์หรือพระราชาในการปกครองแบบราชาธิปไตยจะทรงมีพระราชอำนาจมากมายเพียงใดก็ตาม...

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

siamrath_online /  🏆 15. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

โลก-ทัศน์-พัฒน์-พิษ (11) : จากพึ่งพิงธรรมชาติ-เกษตรกรรม สู่ “อุตสาหกรรม”(5)โลก-ทัศน์-พัฒน์-พิษ (11) : จากพึ่งพิงธรรมชาติ-เกษตรกรรม สู่ “อุตสาหกรรม”(5)สถาพร ศรีสัจจัง สปีชีส์ “เซเปียนส์” ผ่านกระบวนการต่างๆมาอย่างยาวนาน จนสามารถพัฒนาสายพันธุ์กลายเป็นสิ่งที่เรียกว่า “มนุษย์”อย่างที่เห็นกันในปัจจุบัน “การพัฒนา” นั้นเองได้ก่อเกิดสิ่งแตกต่างจากสปีชีส์อื่นอย่างสำคัญขึ้น นั่นก็คือ พวกเขาสามารถสร้าง “คุณค่า” บางประการที่เรียกเป็นชื่อรวมๆกันในปัจจุบันได้ว่า “วัฒนธรรม” (Culture)ขึ้นมาได้...
อ่านเพิ่มเติม »

โลก-ทัศน์-พัฒน์-พิษ (12) : จากพึ่งพิงธรรมชาติ-เกษตรกรรม สู่ “อุตสาหกรรม”(6)โลก-ทัศน์-พัฒน์-พิษ (12) : จากพึ่งพิงธรรมชาติ-เกษตรกรรม สู่ “อุตสาหกรรม”(6)สถาพร ศรีสัจจัง สังคม “ไทย” (หรือผู้คนในพื้นที่ซึ่งเป็น “รัฐไทย” ปัจจุบัน)กับ “ยุคศักดินา” (Feudalism Era) เป็นอย่างไรบ้าง มี “พัฒนาการ” เหมือนหรือแตกต่างจาก “พื้นที่” อื่นๆในโลกหรือไม่?อย่างไร?
อ่านเพิ่มเติม »

โลก-ทัศน์-พัฒน์-พิษ (13) : จากพึ่งพิงธรรมชาติ-เกษตรกรรม สู่ “อุตสาหกรรม” (7)โลก-ทัศน์-พัฒน์-พิษ (13) : จากพึ่งพิงธรรมชาติ-เกษตรกรรม สู่ “อุตสาหกรรม” (7)สถาพร ศรีสัจจัง แม้ดินแดนที่ถูกประเมินโดยนักประวัติศาสตร์ โบราณคดียุคปัจจุบันว่าคือ “สุวรรณภูมิ” หรือ “แผ่นดินทอง” นั้นจะกินความรวมถึงพื้นที่ของ “รัฐชาติ” ปัจจุบันหลายรัฐ และ ในบรรดารัฐ ที่ว่าเหล่านั้น ที่มีพื้นที่ติดต่อ และ “ร่วมประวัติศาสตร์” กันมาอย่างยาวนานกับ “รัฐไทย” ปัจจุบันก็มีหลายรัฐด้วยกัน ได้แก่ พม่า ลาว กัมพูชา และเวียดนาม...
อ่านเพิ่มเติม »

โลก-ทัศน์-พัฒน์-พิษ (14) : จากพึ่งพิงธรรมชาติ-เกษตรกรรม สู่ “อุตสาหกรรม” (8)โลก-ทัศน์-พัฒน์-พิษ (14) : จากพึ่งพิงธรรมชาติ-เกษตรกรรม สู่ “อุตสาหกรรม” (8)สถาพร ศรีสัจจัง “นายผี” หรือ ท่านอัศนี พลจันทร กวี นักวิชาการ และ นักปฏิวัติสังคมคนสำคัญของไทย เมื่อครั้งรจนาบทกวีขนาดยาวเรื่อง “ความเปลี่ยนแปลง” ทำนองเล่าถึง “ประะวัติชาติตระกูล” เพื่อยืนยันถึง “พัฒนาการทางความคิด” ว่าได้ “หล่อหลอม” ตัวเองจนสามารถ “ปลดปล่อยความคิด” หรือ “รูปการจิตสำนึก” จาก “ชนชั้น” ที่สังกัด คือชนชั้นที่เรียกว่า “ขุนนางศักดินา”...
อ่านเพิ่มเติม »

ไทยควรรู้ ? ถอดบทเรียนมาตรการเยียวยาภัยพิบัติสึนามิ ญี่ปุ่น 2554ไทยควรรู้ ? ถอดบทเรียนมาตรการเยียวยาภัยพิบัติสึนามิ ญี่ปุ่น 2554มีหลายหน่วยงานที่ออกมาประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจ ที่ครอบคลุมทั้งพื้นที่ ที่อยู่อาศัย เกษตรกรรม อุตสาหกรรม และภาคบริการ เช่น สภาอุตสาหกรรมฯ ประเมินความเสียหายเฉพาะภาคเหนือตอนบน 25,000-27,000 ล้านบาท หรือภาพรวมทั้งประเทศ ที่ สำนักวิจัย ซีไอเอ็มบี ประเมินความเสียหาย 200,000 ล้านบาท ถ้าคลี่คลายได้ใน 1-3 เดือน แล้วถ้าต้องชดเชยทั้งหมด น่าจะเป็นไปไม่ได้...
อ่านเพิ่มเติม »

'สนพ.' เผยภาคพลังงานปล่อยก๊าซ 'CO2' ครึ่งปี 67 ลดลง 2.5%'สนพ.' เผยภาคพลังงานปล่อยก๊าซ 'CO2' ครึ่งปี 67 ลดลง 2.5%'สนพ.' เผยภาคพลังงานปล่อยก๊าซ 'CO2' ครึ่งปี 67 ลดลง 2.5% หลังภาคการขนส่ง อุตสาหกรรม ครัวเรือน เกษตรกรรม พาณิชยกรรม และกิจกรรมอื่น มีการปล่อยลดลง ระบุยังมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าสหภาพยุโรป
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-02 09:37:57