โรคไอกรน ไอนานเกิน 2 สัปดาห์ รีบพบแพทย์

ฐานเศรษฐกิจ ข่าว

โรคไอกรน ไอนานเกิน 2 สัปดาห์ รีบพบแพทย์
ข่าวเด่นกระทรวงสาธารณสุขกรมการแพทย์
  • 📰 Thansettakij
  • ⏱ Reading Time:
  • 49 sec. here
  • 8 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 44%
  • Publisher: 63%

อาการโรคไอกรน สถาบันสุขภาพเด็กมหาราชินี แนะผู้ปกครองสังเกตบุตรหลาน พบไอติดต่อกันนาน ไอรุนแรงจนอาเจียน หรือหายใจมีเสียงผิดปกติ ให้รีบพาไปพบแพทย์ เน้นย้ำความสำคัญของการฉีดวัคซีนกระตุ้นป้องกันการระบาด

เป็นโรคติดเชื้อแบคทีเรียที่ระบบทางเดินหายใจ สามารถติดต่อได้ง่ายผ่านการไอ จาม และการหายใจเอาละอองฝอยที่มีเชื้อเข้าไป โดยเฉพาะในเด็กเล็กที่ยังได้รับวัคซีนไม่ครบหรือภูมิคุ้มกันยังไม่แข็งแรงพอ มักพบการระบาดในสถานที่ที่มีเด็กอยู่รวมกันจำนวนมาก เช่น โรงเรียน ศูนย์เด็กเล็ก

นายแพทย์อัครฐาน จิตนุยานนท์ ผู้อำนวยการสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี กล่าวเพิ่มเติมว่า อาการของโรคไอกรนในระยะแรกจะคล้ายหวัดธรรมดา มีน้ำมูก ไอเล็กน้อย และมีไข้ต่ำ ๆ หลังจากนั้น 1-2 สัปดาห์ จะมีอาการไอรุนแรงเป็นชุด ๆ จนกระทั่งหายใจเข้าดังวี้ด บางรายอาจมีอาการอาเจียนร่วมด้วย โดยเฉพาะในเด็กทารกอาจมีอาการรุนแรงถึงขั้นเขียว หยุดหายใจ และอาจเสียชีวิตได้

ผู้ปกครองควรสังเกตอาการหากพบว่า เด็กมีอาการไอติดต่อกันนานเกิน 2 สัปดาห์ ไอรุนแรงจนอาเจียน หรือหายใจมีเสียงดังผิดปกติ ควรรีบพาไปพบแพทย์ นายแพทย์อัครฐาน จิตนุยานนท์ กล่าวเพิ่มเติมว่า การระบาดของโรคไอกรนในปัจจุบันมีหลายปัจจัย หนึ่งในนั้น คือ การที่ภูมิคุ้มกันจากวัคซีนที่ได้รับในวัยเด็กเริ่มลดลงตามกาลเวลาโดยเฉพาะหลังจากการฉีดวัคซีนเข็มสุดท้ายในช่วงอายุ 4 ขวบ ประกอบกับการเคลื่อนย้ายของประชากรในภูมิภาคที่มีความแตกต่างของการเข้าถึงวัคซีนพื้นฐานจำเป็นต้องมีมาตรการที่เข้มงวดทั้งการคัดกรองนักเรียนที่มีอาการไอเรื้อรังหรือไอรุนแรงเป็นชุด แยกผู้ป่วยและให้หยุดเรียนจนกว่าจะได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะครบ 5 วัน...

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

Thansettakij /  🏆 23. in TH

ข่าวเด่น กระทรวงสาธารณสุข กรมการแพทย์ โรคไอกรน ไอกรน สถาบันสุขภาพเด็กมหาราชินี

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

โรคไอกรนระบาด เช็คสาเหตุ อาการที่ควรรู้ ลดความเสี่ยงโรคไอกรนระบาด เช็คสาเหตุ อาการที่ควรรู้ ลดความเสี่ยงชวนศึกษาสาเหตุ โรคไอกรน ลักษณะอาการเด่นที่ควรรู้ พร้อมวิธีการป้องกันบุตรหลานจากความเสี่ยง หลังมีรายงานการระบาดของโรคนี้ ในพื้นที่ รร.สาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน ก่อนสั่งปิดเรียนสองสัปดาห์
อ่านเพิ่มเติม »

'โรคไอกรน' อาการที่ต้องรีบพบแพทย์ หลังพบผู้ป่วยกลางกรุง'โรคไอกรน' อาการที่ต้องรีบพบแพทย์ หลังพบผู้ป่วยกลางกรุงสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติฯ กรมการแพทย์ เผยกลุ่มเสี่ยง 'โรคไอกรน' ที่อาการจะรุนแรง เผยอาการที่ต้องรีบพบแพทย์ เป็นโรคติดเชื้อแบคทีเรียที่ระบบทางเดินหายใจ สามารถติดต่อได้ง่ายผ่านการไอ จาม และการหายใจเอาละอองฝอยที่มีเชื้อเข้าไป ย้ำมีวัคซีนป้องกัน
อ่านเพิ่มเติม »

'หมอยง' ไขข้อข้องใจ 15 ข้อ 'โรคไอกรน' แนะฉีดวัคซีนป้องกัน'หมอยง' ไขข้อข้องใจ 15 ข้อ 'โรคไอกรน' แนะฉีดวัคซีนป้องกัน'ศ.นพ.ยง' ระบุ 'โรคไอกรน' เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Bordetella pertussis เป็นโรคตั้งแต่โบราณ เหมือนกับไข้หวัดทั่วไป มีความรุนแรงน้อยกว่าไข้หวัดใหญ่ และ โควิด-19 ฉีดวัคซีนป้องกัน ไม่จำเป็นต้องปิดโรงเรียน ชี้อย่าตื่นตระหนก วันนี้ (13 พ.ย.2567) ศ.นพ.
อ่านเพิ่มเติม »

'สรณ'ปัดตอบคืบหน้าสอบตั้ง “ไตรรัตน์” ไม่เป็นธรรม หลังผ่านขีดเส้น 2 สัปดาห์'สรณ'ปัดตอบคืบหน้าสอบตั้ง “ไตรรัตน์” ไม่เป็นธรรม หลังผ่านขีดเส้น 2 สัปดาห์บอร์ดกสทช.-ตัวแทนประชาชน ร้องเร่งหาความชัดเจนคำสั่งตั้ง ไตรรัตน์ นั่งรองเลขาฯถึงเกษียณ ก่อนหมดวาระเม.ย.2568 หลังประธานกสทช.ปัดตอบที่ประชุมการตรวจสอบล่าช้ากว่า 2 สัปดาห์
อ่านเพิ่มเติม »

โรงเรียนสาธิต มศว ปทุมวัน พบนร.ป่วย 'ไอกรน' สั่งปิดรร.ป้องกันแพร่ระบาดโรงเรียนสาธิต มศว ปทุมวัน พบนร.ป่วย 'ไอกรน' สั่งปิดรร.ป้องกันแพร่ระบาดไอกรน โรคติดเชื้อทางระบบทางเดินหายใจ โรงเรียนสาธิต มศว ปทุมวัน พบนักเรียนป่วยมากกว่า 2 ราย สั่งปิดโรงเรียน 2 สัปดาห์ ป้องกันแพร่ระบาด
อ่านเพิ่มเติม »

Dogizen โปรเจกต์ ICO ตัวแรกบน Telegram ตั้งเป้าเติบโตแบบก้าวกระโดด ! หลังจับมือพันธมิตรชั้นนำDogizen โปรเจกต์ ICO ตัวแรกบน Telegram ตั้งเป้าเติบโตแบบก้าวกระโดด ! หลังจับมือพันธมิตรชั้นนำหลังจากเพียง 4 สัปดาห์ แพลตฟอร์มเกม Telegram และการ ICO ตัวแรกบน Telegram อย่าง Dogizen ได้สร้างประวัติศาสตร์ครั้งสำคัญ ด้วยการที่สามารถระดมทุน
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-04 20:57:53