กรมสุขภาพจิต เผยความเสี่ยงจากการเสพข่าวมากเกินไป แนะ 5 วิธีรับมือกับความเครียดจากข่าวสาร ป้องกันภาวะ Headline Stress Disorder ที่อาจส่งผลกระทบต่อชีวิตในระยะยาว
เป็นอาการที่เกิดขึ้นได้เมื่อเราได้รับข้อมูลข่าวสารมากจนส่งผลให้เกิด ความเครียด วิตกกังวลหรือรู้สึกหนักใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อข่าวสารเหล่านั้นเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่มีผลกระทบทางลบ เช่น ภัยธรรมชาติ การเมือง ความรุนแรง หรือเหตุการณ์ที่สะเทือนใจ
นายแพทย์กิตติศักดิ์ อักษรวงศ์ อธิบดีกรมสุขภาพจิต เปิดเผยว่า อาการดังกล่าวข้างต้นพบได้มากขึ้นในปัจจุบัน เนื่องจากผู้คนสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ตลอดเวลาและมีการเผยแพร่ข้อมูลที่หลั่งไหลมาอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะผ่านสื่อออนไลน์ เช่น โซเชียลมีเดีย ซึ่งส่งผลให้บุคคลรับทราบข่าวสารเรื่องเดียวกันจำนวนมาก เกิดภาวะความเครียดสะสม
อาการที่พบบ่อยในผู้มีภาวะเสพข่าว คือ ตึงเครียด วิตกกังวล เหนื่อยล้า นอนไม่หลับ เกิดขึ้นเมื่อติดตามข่าวสารที่เป็นลบหรือที่เกี่ยวข้องกับวิกฤติความเหนื่อยล้าทางจิตใจ รู้สึกว่าต้องเผชิญกับข่าวที่กดดันและทำให้หมดพลัง การนอนไม่หลับ จากความกังวลเรื่องข่าวหรือการรับรู้ปัญหาตลอดเวลาภาวะหลีกหนีสังคม หลีกเลี่ยงการพูดคุยหรือกิจกรรมที่เกี่ยวกับข่าวสารรู้สึกสิ้นหวัง เมื่อเห็นข่าวร้ายเป็นประจำ
ผลกระทบจากภาวะเสพข่าวจนเครียด สามารถมีผลทั้งทางร่างกายและจิตใจ และชีวิตประจำวันของบุคคลที่ได้รับผลกระทบ โดยสามารถแบ่งได้ ดังนี้ จากการเสพข่าวที่มีเนื้อหาด้านลบเรื่องเดิมซ้ำ ๆ ทำให้เกิดภาวะวิตกกังวล ภาวะซึมเศร้า เหนื่อยล้า และรู้สึกสิ้นหวังต่อสถานการณ์นำไปสู่ภาวะความเครียดสะสม และนำไปสู่ปัญหาสุขภาพจิตในระยะยาว อาจทำให้รู้สึกว่าไม่สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ ทำให้มีภาวะเหนื่อยล้าและหมดพลังทางจิตใจ ความเครียดจากข่าวสารอาจทำให้นอนไม่หลับ บางครั้งมีภาวะปวดหัว กล้ามเนื้อตึงและส่วนอื่นๆ...
ข่าวเด่น กระทรวงสาธารณสุข ความเครียด กรมสุขภาพจิต จ่ายเยียวยา เครียด สาธารณสุข Youtube ของกรมสุขภาพจิต
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
กรมสุขภาพจิต ขอความร่วมมือ ร่วมเคารพสิทธิเด็ก งดการแชร์ภาพผู้ประสบเหตุ ไม่ตอกย้ำไม่ซ้ำเติมผู้ปกครองกรมสุขภาพจิต ขอความร่วมมือ ร่วมเคารพสิทธิเด็ก งดการแชร์ภาพผู้ประสบเหตุ ไม่ตอกย้ำไม่ซ้ำเติมผู้ปกครอง
อ่านเพิ่มเติม »
กรมสุขภาพจิต แนะไม่ถามเด็กเหตุไฟไหม้รถบัสกรมสุขภาพจิต ร่วมดำเนินงานลงพื้นที่ดูแลผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ไฟไหม้รถบัส ณ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพมหานคร พร้อมจัดทีมเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบในเหตุการณ์และครอบครัวของผู้ที่เกี่ยวข้องในพื้นที่จังหวัดอุทัยธานี เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2567 นายแพทย์กิตติศักดิ์ อักษรวงศ์ อธิบดีกรมสุขภาพจิต กล่าวว่า...
อ่านเพิ่มเติม »
วิกฤต “ร้านอาหาร” 3 ปีเจ๊ง 6 แสนร้าน สมาคมภัตตาคารไทย ชง 4 ทางรอดวิกฤตร้านอาหาร 3 ปีเจ๊งเฉียด 6 แสนร้าน พิษเศรษฐกิจชะลอตัว กำลังซื้อหด ต้นทุนสูง การแข่งขันเดือด แนะ 4 สูตรทางรอด นำเทคโนโลยีเสริมแกร่ง สร้างจุดเด่นแตกต่างเหนือคู่แข่ง เน้นอาหารสุขภาพและยั่งยืน นำเสนอเทรนด์ใหม่ทันกระแสโลก
อ่านเพิ่มเติม »
นพดล ชงข้อเสนอป้องกันโศกนาฏกรรม ยางรถสาธารณะใช้ไม่เกิน2ปี 5 หมื่นกิโลเมตรนพดล เสนอ 6 มาตรการ ป้องกันไม่ให้ โศกนาฏกรรมทางรถยนต์เกิดขึ้นอีก บังคับใช้กฎหมายเคร่งครัด ยางรถสาธารณะใช้ไม่เกิน2ปี 5หมื่นกิโลเมตร เอ็กซเรย์รถสาธารณะทุกคัน ติดตั้งเครื่องตรวจความเร็ว เพิ่มโทษคนขับหากประมาท แนะ รัฐบาลตั้งเป้าลดอุบัติเหตุ ลดการสูญเสีย
อ่านเพิ่มเติม »
แพทองธาร ย้ำ ทัศนศึกษาไม่ได้ทำร้ายเด็ก รับข้อเสนอ รถบัสเปิดประตูหลังได้แพทองธาร ประชุมร่วมกับหน่วยงานเกี่ยวข้อง หลังเกิดเหตุรถบัสไฟไหม้นักเรียน ย้ำ ทัศนศึกษาช่วยเปิดโลก ไม่ได้ทำร้ายเด็ก กำชับ คมนาคม เยียวยา สาธารณสุข ส่งนักจิตวิทยาดูแล เปิดรับแนวคิด รสบัสแบบอเมริกา เปิดประตูหลังได้ เตรียมหารือคมนาคม แนะ...
อ่านเพิ่มเติม »
สมาคมหมู แนะพาณิชย์แก้หมูบราซิลถล่มไทยสมาคมหมู ชี้เหตุผลหมูบราซิลถูก เพราะราคาวัตถุดิบต่ำมาก แนะ กระทรวงพาณิชย์ แก้ปัญหาให้ตรงจุด หลังราคาไทยแพงสุดในโลก
อ่านเพิ่มเติม »