อาการหูตึงที่เกิดจากการแพ้ยาบางชนิด ที่มีสารเคมีที่เราไม่จำเป็นต้องได้รับ ก็เป็นอีกประการหนึ่งที่เราสามารถป้องกัน ก่อนที่จะเกิดหูตึงได้ ฐานเศรษฐกิจ
ครั้งที่ผ่านมา ผมได้พูดถึงเรื่องโรคหูตึงกับผู้สูงอายุ ก็มีเพื่อนแฟนคลับส่งคำถามมา ถามว่าแล้วจะมีการป้องกันมิให้เกิดอาการหูตึงได้อย่างไร? เอาเป็นว่า เป็นคำตอบที่มาจากผู้ที่ไม่ใช่หมออย่างผม ท่านก็อย่าได้จริงจังมากนะครับ แค่อ่านแล้วลองไปปฏิบัติตามดูบ้าง อาจจะช่วยได้บ้างไม่มากก็น้อยครับโรคหูตึงอย่างที่ได้เล่าไปครั้งที่ผ่านมาว่า มีต้นเหตุหลักๆ มาจากสองประเภทด้วยกัน คือเกิดจากกรรมพันธุ์ กับเกิดจากการที่เราไม่ได้ใส่ใจระมัดระวังตนเอง ในกรณีที่เกิดจากกรรมพันธุ์ อันนี้ก็คงช่วยไม่ได้ เพราะท่านเกิดมาแล้ว...
เพราะนั่นอาจจะทำให้ถ้าไม่ระมัดระวัง หรือยิ่งปั่นยิ่งมัน กระทั่งไปกระทบกระเทือนถึงแก้วหูได้ หรือบางครั้งเวลาเล่นน้ำ พอน้ำเข้าหู ก็จะต้องรีบใช้สำลีปั่นหูด้วยความระมัดระวัง ไม่ให้เกิดอาการน้ำขังในรูหู จนทำให้หูมีน้ำหนอง หรือเกิดอาการอักเสบ นี่ก็อาจจะเป็นสาเหตุที่ทำให้พออายุมาก ทำให้เกิดปัญหาหูตึงได้ อีกท่านหนึ่งที่เป็นน้องที่ทำงานในสภาฯอยู่กับผม ก็ส่งคำถามมาถามว่า ถ้าหูได้ยินไม่เท่ากัน เป็นไปได้หรือไม่ว่า เป็นเพราะชอบใส่หูฟังในการฟังเพลง? ซึ่งส่วนตัวผมคิดว่า เมื่อไม่นานมานี้ มีอยู่ช่วงเวลาหนึ่ง...
อีกประการหนึ่ง คือเสียงที่ดังเกินไป จากสภาพแวดล้อมใกล้ตัว เพราะหลายคน อาจจะไม่มีทางเลือก ที่จะต้องอยู่ในสถานที่ที่มีเสียงอึกทึกครึกโครม ซึ่งเสียงทั่วไป สามารถวัดได้จาก Sound meter ซึ่งถ้ามีชั่วโมงทำงานน้อยกว่า 7 ชั่วโมง ระดับที่รับได้สูงสุดคือ 91 dB ถ้าเวลาทำงาน 7-8 ชั่วโมง ระดับที่รับได้สูงสุดคือ 90 dB ถ้าเวลาทำงานมากกว่า 8 ชั่วโมง ระดับที่รับได้สูงสุด 80 dB
จากบันทึกที่น้องผู้บริบาลบันทึกไว้ จากการวัดความดันของท่านติดต่อกันมาหลายวัน ก็เห็นว่าความดันของท่าน ตัวบนมีเพียง 75-90 ทุกๆ วัน ซึ่งเกิดจากฤทธิ์ของยารักษาโรคความดันโลหิตนั่นเอง อาการอีกอย่างหนึ่งที่ผู้บริบาลบันทึกไว้ คือท่านจะมีอาการไอแห้งๆ ตลอดเวลา แต่ไม่มีอาการไข้
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
อาการหูตึงของผู้สูงอายุเมื่อคนเรามีอายุมากขึ้น ความสามารถในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ก็อาจจะต้องเปลี่ยนแปลงไป ตามการเปลี่ยนแปลงของสภาพร่างกาย ซึ่งเป็นเรื่องปกติของการพูดจา การกลืนอาหาร และการได้ยิน ย่อมมีการเปลี่ยนแปลงไปก่อนอวัยวะส่วนอื่น... ฐานเศรษฐกิจ
อ่านเพิ่มเติม »
ปรัชญาของ “การให้” ที่น่าชื่นชม“การให้” ถ้ามีผู้รับการให้นั้น ผู้ให้ควรจะขอบคุณผู้รับ ที่ทำให้ผู้ให้ได้มีโอกาสทำให้ “การให้” นั้นเกิดขึ้นได้ ซึ่งเป็นปรัชญาการให้ที่น่าชื่นชมด้วยใจจริงๆ ครับ ฐานเศรษฐกิจ
อ่านเพิ่มเติม »
มหันตภัย นิ้วล็อคพูดถึงอาการนิ้วล็อค มักจะมาควบคู่กับโรคเบาหวานเสมอ ที่เป็นเช่นนี้ เพราะมีค้นพบว่า ผู้ป่วยโรคเบาหวาน สามารถเป็นโรคนิ้วล็อคมากถึง 4 เท่าของคนที่ปกติ แถมร้อยละ 4 นั้นเป็นมากกว่าหนึ่งนิ้วขึ้นไป ฐานเศรษฐกิจ นิ้วล็อค
อ่านเพิ่มเติม »
โรคนิ้วล็อค ที่ไม่ธรรมดาสำหรับหญิงชราคอลัมน์ ชีวิตบั้นปลายของชายชรา โดย กริช อึ้งวิฑูรสถิตย์
อ่านเพิ่มเติม »
ปี่กลองของการเลือกตั้งในเมียนมา เริ่มดังแล้วปี่กลองของการเลือกตั้งในเมียนมา เริ่มดังแล้ว เลือกตั้งเมียนมา
อ่านเพิ่มเติม »
โรคที่ชายชราหวั่นเกรงจากผลของการวิจัยฯ ผู้สูงวัยเพศชายชาวไทย มีโอกาสเป็นโรคต่อมลูกหมากโตมากถึง 80% เลยทีเดียว ฐานเศรษฐกิจ ต่อมลูกหมากโต
อ่านเพิ่มเติม »