แรงกระแทกต่อส่งออกไทย บนความขัดแย้งทางการค้า 'สหรัฐฯ

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

แรงกระแทกต่อส่งออกไทย บนความขัดแย้งทางการค้า 'สหรัฐฯ
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 Thansettakij
  • ⏱ Reading Time:
  • 60 sec. here
  • 2 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 27%
  • Publisher: 63%

แรงกระแทกต่อส่งออกไทย บนกระแสความขัดแย้งการค้า 'สหรัฐฯ- จีน' รวมถึงประเด็นความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม สุขอนามัยและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ: คอลัมน์ยังอีโคโนมิสต์ โดยอริสา จันทรบุญทา ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจ ทีทีบี

สำหรับประเทศไทย แม้เกิดการไหลเข้ามาของสินค้าจากจีนที่ไม่สามารถส่งออกไปสหรัฐฯ ได้ อาทิ สินค้าหมวดเครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ และผลิตภัณฑ์เหล็ก อย่างไรก็ดี ไทยได้รับคำสั่งซื้อสินค้าจากคู่ขัดแย้งทางการค้าเพิ่มขึ้นโดยตรงในหมวดสำคัญ อาทิหลังจากการตอบโต้ทางภาษีนำเข้าระหว่างกันนานหลายปี มีการปรับเปลี่ยนแนวทางในการตอบโต้ไปสู่ด้านซัพพลายมากขึ้น ผ่านการควบคุมการส่งออกวัตถุดิบและเครื่องมือที่ใช้ในกระบวนการผลิตสินค้าสำคัญๆ...

ล่าสุดในวันที่ 1 สิงหาคม 2566 นี้ ทางการประเทศจีนจะเริ่มควบคุมการส่งออกสินค้าประเภทแร่ธาตุหายาก 2 ชนิดที่จีนเป็นผู้ส่งออกรายหลักของโลก คือ แร่แกลเลียม สำหรับใช้ในการผลิตเซมิคอนดักเตอร์ และแร่เจอร์เมเนียม ที่ใช้ในการผลิต ผลิตภัณฑ์โซลาเซลล์และไฟเบอร์ออปติก เพื่อตอบโต้สหรัฐฯ และยุโรปที่จำกัดการเข้าถึงอุปกรณ์และเทคโนโลยีผลิตชิปของจีน

ทั้งนี้ คาดว่าเยอรมนีและญี่ปุ่นจะเป็นประเทศที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดเพราะนำเข้าแร่ทั้งสองชนิดจากจีนโดยตรงในสัดส่วนสูงที่สุดเมื่อเทียบประเทศอื่นๆ เพื่อนำไปผลิตในอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์ โซลาเซลล์ และไฟเบอร์ออปติค สำหรับส่งออกไปในตลาดโลก ส่วนไทยอาจได้รับผลกระทบในระยะสั้นบ้างจากการนำเข้าเซมิคอนดักเตอร์จากญี่ปุ่น แต่โดยรวมถือว่าผลกระทบไม่มากนัก

นอกจากมาตรการกีดกันดังกล่าวข้างต้นแล้ว ในช่วงที่ผ่านมามีแนวโน้มการกีดกันทางการค้าแบบแอบแฝงมากขึ้น ผ่านการบังคับใช้มาตรการปกป้องสิ่งแวดล้อมและตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เมื่อพิจารณาเฉพาะโครงสร้างการกีดกันการค้าแบบไม่ใช่ภาษี ผ่านสถิติที่จัดทำโดยองค์การการค้าโลกปี 2562 พบว่า ประเทศแถบเอเชียและแปซิฟิก ต้องเผชิญกับการกีดกันทางการค้าเชิงเทคนิคในการนำเข้าปลายทาง ราว 50% การกีดกันผ่านมาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช 30% และการกีดกันผ่านการส่งออกสินค้าจากต้นทางโดยตรงและกลวิธีอื่นๆ อีก...

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

Thansettakij /  🏆 23. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

'โจ ไบเดน' ยินดี “เศรษฐา” นั่งนายกฯหวังไทย-US.กระชับความร่วมมือ'โจ ไบเดน' ยินดี “เศรษฐา” นั่งนายกฯหวังไทย-US.กระชับความร่วมมือ'โจ ไบเดน' ส่งสาส์นแสดงความยินดี “เศรษฐา” นั่งนายกฯ คนที่ 30 หวังไทย-สหรัฐฯ กระชับความร่วมมือแน่นแฟ้นยิ่งขึ้นตามแถลงการณ์ร่วมว่าด้วยการเป็นพันธมิตรเชิงยุทธศาสตร์และความเป็นหุ้นส่วน
อ่านเพิ่มเติม »

ฮ.สหรัฐฯ ร่วงระหว่างซ้อมรบร่วม เสียชีวิต 3 สาหัส 5 เร่งหาสาเหตุต่อไปฮ.สหรัฐฯ ร่วงระหว่างซ้อมรบร่วม เสียชีวิต 3 สาหัส 5 เร่งหาสาเหตุต่อไปเฮลิคอปเตอร์สหรัฐฯ ตกระหว่างการซ้อมรบร่วมลงบนเกาะที่ออสเตรเลีย ทหารเสียชีวิต 3 สาหัส 5 ทางการเร่งสืบสวนหาสาเหตุต่อไป
อ่านเพิ่มเติม »

Asia Society:สหรัฐฯ ควรยุติการแสวงหา “ความเป็นอันดับหนึ่งของอเมริกา” ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้Asia Society:สหรัฐฯ ควรยุติการแสวงหา “ความเป็นอันดับหนึ่งของอเมริกา” ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทันสถานการณ์โลก / Benedict รายงานของ Asia Society ระบุว่า สหรัฐฯ ควรยอมรับว่าตนเป็น 'หนึ่งในผู้มีบทบาทระดับภูมิภาค' และลดวาทกรรม “การดำเนินการที่อิงกับกติการะหว่างประเทศ”(rules-based order) ที่ชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ถือว่าไม่จริงใจ สหรัฐฯ ควรพิจารณาเข้าร่วม CPTPP, RCEP และอธิบายว่ากรอบเศรษฐกิจอินโด-แปซิฟิกของ โจ ไบเดน สามารถนำประโยชน์อะไรต่อภูมิภาคได้บ้าง สหรัฐฯ ควรละทิ้งความคิดที่ว่า “ความเป็นอันดับหนึ่งของอเมริกา” หากหวังที่จะตอบโต้อิทธิพลของจีนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จากการสังเกตว่าขณะนี้ภูมิภาคนี้เป็น “หลายขั้วอย่างแท้จริง และจีนอาจเป็นมหาอำนาจหลักของภูมิภาคอย่างแท้จริง” รายงานที
อ่านเพิ่มเติม »

ทีทีบี คาดส่งออกไทยปี 66 หดตัว 1.1%ทีทีบี คาดส่งออกไทยปี 66 หดตัว 1.1%ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจ ทีทีบี หรือ ttb analytics ประเมินส่งออกไทยตลอดปี 2566 จะพลิกหดตัว 1.1%
อ่านเพิ่มเติม »

เฝ้าระวังไม่กระพริบตา! ภาพดาวเทียมเผยท่าเรือ‘กัมพูชา’ใกล้เสร็จ ‘สหรัฐฯ’หวั่นปล่อยให้‘จีน’ใช้งานเฝ้าระวังไม่กระพริบตา! ภาพดาวเทียมเผยท่าเรือ‘กัมพูชา’ใกล้เสร็จ ‘สหรัฐฯ’หวั่นปล่อยให้‘จีน’ใช้งานอ่านรายละเอียด : เฝ้าระวังไม่กระพริบตา! ภาพดาวเทียมเผยท่าเรือ‘กัมพูชา’ใกล้เสร็จ ‘สหรัฐฯ’หวั่นปล่อยให้‘จีน’ใช้งาน ท่าเรือกัมพูชา สหรัฐฯ จีน อำนวยความสะดวกทางเรือ
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-08 08:21:48