แม็คกรุ๊ป โชว์ผลประกอบการปี 64/65 กำรายได้ 2,923 ล้านบาท ลดลง 9.2% กำไรสุทธิ 486 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 9% หลังปรับกลยุทธ์ คุมเข้มต้นทุน
จำกัด หรือ MC องค์กรธุรกิจค้าปลีก ประเภทสินค้าแฟชั่นและสินค้าไลฟ์สไตล์ “” เปิดเผยว่า ภาพรวมผลการดำเนินงานปีบัญชี 2565 ว่า กลุ่มบริษัทมีรายได้จากการขายสินค้ารวม 2,923 ล้านบาท ลดลง 9.
มีกำไรสุทธิ 486 ล้านบาท ปรับตัวเพิ่มขึ้น 9% เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน ที่มีกำไรสุทธิ 446 ล้านบาท และมีอัตรากำไรสุทธิที่สูงขึ้นเป็น 16.5% สูงกว่าปีก่อน อยู่ที่ 13.7% แม้ว่าอัตราภาษีที่แท้จริงจะเพิ่มขึ้นเป็น 18% จากปีบัญชีก่อนหน้าที่ 14.9%โดยมีอัตรากำไรขั้นต้น ในระดับ 64.7% เพิ่มขึ้น 5.1% จากปีก่อนอยู่ที่ 59.
“ในสภาวะเศรษฐกิจไทยและอุตสาหกรรมค้าปลีก ตลอดจนการอุปโภคบริโภค ในประเทศได้รับผลกระทบอย่างต่อเนื่องจากการระบาดของโรคโควิด-19 และสถานการณ์สงครามระหว่างรัสเซียและยูเครนที่ส่งผลให้ระดับราคาน้ำมันเพิ่มสูงขึ้น แต่ด้วยกลยุทธ์ของบริษัทที่เน้นทำ Product Mix ,การเปิดตัวแคมเปญ MY MC MY WAY ชีวิตเต็มแม็คการเปิดสาขา Mc Outlet ที่เปิดได้ครบตามเป้าหมาย 72 สาขา ทำให้ผลดำเนินงานเติบโตได้แข็งแกร่ง หนุนส่วนผู้ถือหุ้นของบริษัทเพิ่มขึ้นแตะ 3,675 ล้านบาทเพิ่มขึ้นจากปีก่อนอยู่ที่ 3,603 ล้านบาท...
ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2565 ยังคงเป็นบริษัทที่ไม่มีหนี้เงินกู้กับสถาบันการเงิน และไม่ได้รับผลกระทบจากดอกเบี้ยขาขึ้น ขณะเดียวกันมีเงินสดในมือเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 1,995 ล้านบาทจากปีก่อน 1,864 ล้านบาท การบริหารสินค้าคงคลังก็ทำได้ดีลดลงมาอยู่ที่ 1,200 ล้านบาท จากปีก่อน 1,250 ล้านบาท ซึ่งเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้สำหรับทิศทางการทำธุรกิจในปีบัญชี 2565 / 2566 ว่า มีทิศทางที่ดีขึ้น ต่อเนื่องภายหลังได้เปิดประเทศ เห็นสัญญาณการกลับมาจับจ่ายใช้สอยเพิ่มขึ้นชัดเจนในไตรมาสสุดท้ายของปีบัญชี 2565...
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
'แม็คกรุ๊ป' ปิดปีบัญชี 64/65 อวดกำไรสุทธิ 486 ล้านบาท เพิ่ม 9% ชี้ผู้บริโภคเริ่มกลับมาใช้จ่าย“แม็คกรุ๊ป” ปิดปีบัญชี 64/65 อวดกำไรสุทธิ 486 ล้านบาท เพิ่ม 9% ชี้ผู้บริโภคเริ่มกลับมาใช้จ่าย via MatichonOnline
อ่านเพิ่มเติม »
MICRO ปรับลดเป้าสินเชื่อปล่อยใหม่เหลือ 2.6-2.8 พันลบ.จากเดิม 3 พันลบ. เน้นคุณภาพมากขึ้น : อินโฟเควสท์นายกานต์ดนัย ชลสุวัฒน์ รองกรรมการผู้จัดการด้านบัญชีและการเงิน บมจ.ไมโครลิสซิ่ง (MICRO) เปิดเผยว่า บริษัทปรับลดเป้าหมายสินเชื่อปล่อยใหม่ปี 65 เป็น 2,600-2,800 ล้านบาท จากเป้าหมายเดิมที่ 3,000 ล้านบาท เพื่อที่จะดูแลคุณภาพหนี้ให้มีคุณภาพมากขึ้น โดยในช่วงไตรมาส 3/65 บริษัทจะเน้นการปล่อยสินเชื่อที่มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น อาจจะกระทบให้การปล่อยหนี้ให้ชะลอตัวลงในระยะสั้น แต่จะกลับมาเติบโตได้ค่อนข้างดีในช่วงปลายไตรมาส 3 และ เข้าช่วงไอซีซั่นในช่วงไตรมาส 4 ด้านบริษัท ไมโครพลัสลิสซิ่ง จำกัด (MPLUS) ให้บริการสินเชื่อเช่าซื้อรถจักรยานยนต์ บริษัทตั้งเป้าหมายที่จะมีการปล่อยสินเชื่อ 400-600 ล้านบาท โดยมองว่าความต้องการใช้งานรถจักรยานยนต์ยังมีอยู่อีกมาก โดยเฉพาะในพื้นที่ต่างจังหวัด ที่มีการใช้จักรยานยนต์ในชีวิตประจำวัน ซึ่งในปี 65 มีการคาดการณ์ว่าการผลิตจะกลับขึ้นมาอยู่ที่ระดับใกล้เคียงก่อนเกิดสถานการณ์แพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ที่ 1.7-1.8 ล้านคัน ซึ่งจะเข้ามาช่วยหนุนให้พอร์ตสินเชื่อรวมของบริษัทเพิ่มขึ้นเป็น 5,000 ล้านบาท หรือมีการเติบโตที่ 30% ได้ตามเป้าหมาย หลังจากในช่วงครึ่งปีแรกบริษัทมีพอร์ตสินเชื่อแล้ว 4,546 ล้านบาท ทั้งนี้บริษัทได้ตั้งเป้าหมายที่จะรักษาระดับหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL) ให้อยู่ในระดับไม่เกิน 3% จาก …
อ่านเพิ่มเติม »
10 เดือน 2.4 หมื่นคดีผิด กม.สรรพสามิต ค่าปรับ 450 ล้าน เหล้าเยอะสุด!สรรพสามิต เปิดตัวเลขคดีผิด กม.สรรพสามิต ช่วง 10 เดือน ปีงบฯ 65 จำนวน 2.4 หมื่นคดีค่าปรับ 450 ล้านบาท พบ คดีเหล้าเยอะที่สุด ส่วนน้ำหอมพบเกือบ 3 แสนขวด
อ่านเพิ่มเติม »
ทรัพย์สิน 23 ล.'หิรัญ ประสารการ'อธิการบดี มรภ.ภูเก็ต บ้าน 2 หลัง ที่ดิน 6 แปลง 20 ล.ทรัพย์สิน 23.09 ล้านบาท 'หิรัญ ประสารการ' อธิการบดี มรภ.ภูเก็ต เงินฝาก 15 บัญชี 3.71 แสนบาท ที่ดิน 6 แปลง 15.05 ล้านบาท บ้าน 2 หลัง 5.20 ล้านบาท
อ่านเพิ่มเติม »
พาณิชย์ เผยธุรกิจนำเที่ยวและสำรองการเดินทางฟื้นตัวชัดเจนหลังเปิดประเทศ : อินโฟเควสท์นายสินิตย์ เลิศไกร รมช.พาณิชย์ เปิดเผยว่า หลังจากรัฐบาลและทุกภาคส่วนได้ร่วมกันบูรณาการการทำงานเพื่อขับเคลื่อนภาคการท่องเที่ยวของไทยให้ฟื้นตัวกลับมาอย่างรวดเร็ว เนื่องจากเป็นกลไกสำคัญและรายได้หลักในการพลิกฟื้นเศรษฐกิจของประเทศให้กลับมาแข็งแกร่ง ล่าสุดพบสัญญาณการฟื้นตัวภาคการท่องเที่ยวของไทยชัดเจนขึ้น โดย 7 เดือนแรกของปีนี้ (ม.ค.-ก.ค.) ธุรกิจนำเที่ยวและสำรองการเดินทางของไทยมีการจดทะเบียนจัดตั้งธุรกิจใหม่ 549 ราย ทุนจดทะเบียน 988.53 ล้านบาท โดยจัดตั้งเพิ่มขึ้น 169.12% จากปี 2564 ที่มีจำนวน 345 ราย และทุนเพิ่มขึ้น 225.90% หรือ 685.20 ล้านบาท จากปี 2564 จัดตั้ง 204 ราย ทุนจดทะเบียน 303.33 ล้านบาท นับถึงวันที่ 31 ก.ค.65 มีธุรกิจนำเที่ยวและสำรองการเดินทางที่ดำเนินกิจการอยู่จำนวนทั้งสิ้น 11,891 ราย คิดเป็น 1.40% ของธุรกิจทั้งหมดที่ดำเนินการอยู่ และมีมูลค่าทุน 43,008.12 ล้านบาท คิดเป็น 0.21% ของธุรกิจทั้งหมดที่ดำเนินกิจการอยู่ ส่วนใหญ่ 44.39% ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร …
อ่านเพิ่มเติม »