เอกชนจี้รัฐ เร่งเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันไทย หลัง 10 ปีผ่าน จีดีพีโตเฉลี่ยต่ำ 3% รั้งท้ายอาเซียนส่อสูญเสียขีดแข่งขันประเทศ กระทุ้งปฏิรูปกฎหมายให้ทำธุรกิจง่ายขึ้น ลุยเศรษฐกิจสีเขียว-พลังงานสะอาดจุดขายใหม่ดูดลงทุน หอการค้าเปิดจุดอ่อนไทย ฉุด ศก.
โตต่ำศักยภาพ
จากการจัดอันดับขีดความสามารถในการแข่งขันประจำปี 2567 เมื่อเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา โดย World Competitiveness Center ของ International Institute for Management Development หรือ IMD ประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันอยู่ในอันดับที่ 25 จาก 67 เขตเศรษฐกิจทั่วโลก โดยปรับดีขึ้น 5 อันดับ โดยการจัดอันดับพิจารณาจาก 4 ด้าน ได้แก่ 1.ด้านสมรรถนะทางเศรษฐกิจ 2.ด้านประสิทธิภาพของภาครัฐ 3.ด้านประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ และ 4.
“อย่างไรก็ดี ตัวเลขการขอรับการส่งเสริมลงทุนของไทย หากเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านที่ถือเป็นคู่แข่ง เรายังน้อยกว่าเวียดนาม มาเลเซีย หรืออินโดนีเซีย ที่ต่างชาติเข้าไปขยายฐานการลงทุนมากกว่าเรา แต่ถ้าเทียบกับตัวเราเองตัวเลขการขอรับการส่งเสริมก็ถือว่าดีที่สุดในรอบ 10 ปี ถือเป็นสัญญาณที่ดีว่าสิ่งที่รัฐบาลและบีโอไอได้ดำเนินการยังได้รับการตอบรับที่ดีจากนักลงทุนต่างชาติที่เลือกประเทศไทย โดยเฉพาะแผงวงจรพิมพ์ หรือ PCB ถือเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมดาวเด่น...
“เรื่องความสามารถในการแข่งขันของไทยแม้จะดีขึ้น แต่ก็ยังไม่มาก แต่เราก็พยายามเต็มที่ โดยเฉพาะเรื่องของสิทธิประโยชน์ทางด้านการส่งเสริมการลงทุนที่จูงใจและมีความยืดหยุ่นมากขึ้น และมีความสอดคล้องกับความต้องการของนักลงทุนเพิ่มขึ้น“ส่วนข้อเสนอในการต่อยอดโอกาส และจุดเด่นของไทย คือการพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ และโครงสร้างพื้นฐาน การปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม การส่งเสริมเทคโนโลยีดิจิทัล เสริมสร้างอุตสาหกรรมการผลิตที่ไทยมีความแข็งแกร่งอยู่แล้ว เช่น ยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ อาหาร และการท่องเที่ยว...
เวียดนาม รัฐบาล บีโอไอ จีดีพี สภาอุตฯ หอการค้าไทย IMF FDI พลังงานสะอาด ฟิลิปปินส์ เศรษฐกิจสีเขียว มีจุดอ่อน ขีดแข่งขันวูบ ปฏิรูปกฎหมาย ความสามารถในการแข่งขัน
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
“ดิไอคอน”-หนี้ NPL พุ่ง สัญญาณแรงสั่นคลอน ศก.ไทย“ดิไอคอน”-หนี้ NPLพุ่ง สัญญาณแรงสั่นคลอน ศก.ไทย : บทบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ฉบับ 4038
อ่านเพิ่มเติม »
'CIMBT' ประเมิน 'ทรัมป์' ชนะเลือกตั้ง ศก.ไทยปี 68 เต็มไปด้วยทั้งโอกาสและความท้าทาย'ซีไอเอ็มบีไทย' ประเมิน 'ทรัมป์' ชนะเลือกตั้ง ศก.ไทยปี 68 เต็มไปด้วยทั้งโอกาสและความท้าทาย เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2567 นายอมรเทพ จาวะลา ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ผู้บริหารสำนักวิจัย ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย เปิดเผยว่า การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐวันที่ 5 พ.ย.
อ่านเพิ่มเติม »
'จุลพันธ์' พร้อมจัดคลังสัญจรฟื้น ศก.ย่านน้ำท่วม-จ่อเคาะแพคเกจกระตุ้น ศก.ระยะสั้น-คนละครึ่งยังไม่ได้ข้อสรุป'จุลพันธ์' พร้อมจัดคลังสัญจรฟื้น ศก.ย่านน้ำท่วม รอเคาะแพคเกจกระตุ้น ศก.-คนละครึ่งยังไม่ได้ข้อสรุป เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2567 นายจุลพันธ์ อมรวิวัฒน์ รมช.
อ่านเพิ่มเติม »
ประเด็นร้อนเศรษฐกิจรอบวัน 4 ต.ค.67ประเด็นร้อนเศรษฐกิจรอบวัน 4 ต.ค.67 -แจกเงินหมื่นบาทผ่านดิจิทัลวอลเล็ต เฟส 2 ได้แน่ รอหลังน้ำลดประชุมบอร์ดกระตุ้น ศก. คลังเปิดรายละเอียดการกระจายตัวของกลุ่มเป้าหมายโครงการกระตุ้น ศก.ผ่านผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ-คนพิการ -'เผ่าภูมิ' ย้ำคลัง-แบงก์ชาติจูนภาพ ศก.ตรงกัน ให้เกียรติ กนง.
อ่านเพิ่มเติม »
ชู “บางระจันโมเดล” ลุยป้อง ศก.ไทย 7 แสนล้าน หลังแพลตฟอร์มต่างชาติกุมตลาด“อลงกรณ์” ชู “บางระจันโมเดล” ปกป้องเศรษฐกิจไทย 7 แสนล้าน หลังถูกแพลตฟอร์มต่างชาติครอบครองตลาดเกือบ100% ผนึกกำลัง 5 องค์กรช่วยเอสเอ็มอีไทยอยู่รอด ย้ำต้องมีการควบคุมมาตรฐานสินค้า การเสียภาษีสินค้า ภาษีนิติบุคคล และมาตรการปกป้องคุ้มครองตามข้อตกลง WTO
อ่านเพิ่มเติม »
ประเด็นร้อนเศรษฐกิจรอบวัน 9 ต.ค.67ประเด็นร้อนเศรษฐกิจรอบวัน 9 ต.ค.67 -ธ.ก.ส.โอนเงินโครงการกระตุ้น ศก.ปี 67 ทะลุ 6.
อ่านเพิ่มเติม »