เหลียวหลัง มองอดีตของ ธุรกิจการเงิน-การธนาคาร-ตลาดทุน ไทย แลหน้าไปในอนาคต (ตอนที่ 4)

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

เหลียวหลัง มองอดีตของ ธุรกิจการเงิน-การธนาคาร-ตลาดทุน ไทย แลหน้าไปในอนาคต (ตอนที่ 4)
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 moneynbanking
  • ⏱ Reading Time:
  • 78 sec. here
  • 3 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 34%
  • Publisher: 51%

เหลียวหลัง มองอดีตของ ธุรกิจการเงิน-การธนาคาร-ตลาดทุน ไทย แลหน้าไปในอนาคต (ตอนที่ 4) โดย ศาสตราจารย์พิเศษ กิติพงศ์ อุรพีพัฒนพงศ์

วิกฤติสถาบันการเงินไทยเริ่มมีสัญญาณบ่งบอกมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2539 ที่เริ่มมีการโจมตีค่าเงินบาท เพราะนักลงทุนต่างชาติเริ่มหมดความเชื่อมั่นในเศรษฐกิจไทย และคาดการณ์ว่าประเทศไทยต้องมีการลดค่าเงินบาท และมีการนำกองทุนสำรองของประเทศไทยเข้าไปแทรกแซง

มีการเลือกตั้งอีกครั้งภายหลังรัฐบาล นายอานันท์ ปันยารชุน เศรษฐกิจไทยก็ยังเจริญอย่างก้าวกระโดด จนมีความหวังให้ประเทศไทยเป็นเสือตัวที่ 5 ของเอเชีย ทั้งนี้ การค้าการลงทุนเพิ่มจากต่างประเทศ มีการเปิดเสรีทางการเงิน และมีการเปิดกิจการวิเทศธนกิจ หรือ BIBF ของธนาคารพาณิชย์ไทย และการเปิดเสรีทางการเงินนี้เอง ถือว่าเป็นสาเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิดวิกฤติฟองสบู่ จนกระทั่งเกิดวิกฤติต้มยำกุ้ง ในปี 2540 การเปิดเสรีทางการเงินโดยเฉพาะ BIBF...

โดยมีการทำธุรกรรมซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า swap จนทำให้เงินทุนสำรองของประเทศไทยลดเหลือเพียง 2,500 ล้านดอลลาร์สหรัฐ จาก 24,300 ล้านดอลลาร์ จนกระทั่งประเทศไทยต้องมีการประกาศลดค่าเงินบาท และเข้าโครงการช่วยเหลือจาก IMF นอกจากนี้ ในช่วงระยะเวลาปี 2538 ทางกระทรวงการคลังและธนาคารแห่งประเทศไทยมีแนวคิดที่จะทำให้บริษัทเงินทุนสามารถยกฐานะเป็นธนาคารพาณิชย์ได้ และให้บริษัทเงินทุนที่มีขนาดใหญ่สามารถประกอบธุรกิจเงินตราต่างประเทศและรับฝากบัญชีออมทรัพย์ได้ ในปี 2540 โดยมีความพยายามจะกำกับดูแลสถาบันการเงิน 3 ประเภท ที่มีจำนวนถึง 104 แห่ง ให้ลดลง เพราะผลจากบริษัทเงินทุนเหล่านั้นก่อภาระให้ทางการมาก

หลังจากนั้นมาธนาคารพาณิชย์อื่นต่างประสบปัญหาในการเพิ่มทุนอีกคือ ธนาคารแหลมทอง ธนาคารนครหลวงไทย และ ธนาคารเอเชีย ช่วงปี 2541 ได้มีความพยายามจะฟื้นฟูกิจการของธนาคารศรีนคร รวมถึง ธนาคารมหานคร แต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จ แม้ทางการจะมีคำสั่งให้ธนาคารมหานคร ลดทุนและเพิ่มทุนเพื่อให้กองทุนฟื้นฟูเข้าเป็นผู้ถือหุ้น ขณะเดียวกัน ธนาคารนครหลวงไทยก็ประสบสถานการณ์เช่นกัน คือ มีการลดทุนและเพิ่มทุนทำให้กองทุนเข้าไปถือหุ้นร้อยละ 97 ส่วนธนาคารแหลมทอง ภายหลังก็ถูกทางการสั่งให้ครบรวมกิจการกับธนาคารรัตนสิน ตอนปลายปี 2541

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

moneynbanking /  🏆 44. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

คนกู้บ้านก่ายหน้าผากรอ! ดอกเบี้ยจ่อขยับลอยตัวคนกู้บ้านก่ายหน้าผากรอ! ดอกเบี้ยจ่อขยับลอยตัวคนกู้บ้านเตรียมตัวรับมือดอกเบี้ยขาขึ้นกันแล้วหรือยัง หลังจากธนาคารแห่งประเทศไทย(ธปท.)ส่งสัญญาณขึ้นดอกเบี้ยในช่วงครึ่งหลังของปีนี้ ทำให้ธนาคารพาณิชย์หลายแห่ง ทั้งซีไอเอ็มบี ไทย-กสิก
อ่านเพิ่มเติม »

‘วิกฤตขาดแคลนแรงงาน’ คลื่นลูกใหม่ซัด ศก.ไทย จมหาย‘วิกฤตขาดแคลนแรงงาน’ คลื่นลูกใหม่ซัด ศก.ไทย จมหาย‘วิกฤตขาดแคลนแรงงาน’ คลื่นลูกใหม่ซัด ศก.ไทย จมหาย...เข้าสู่ครึ่งหลังของปี 2565 อย่างเต็มตัว ท่ามกลางสารพัดปัจจัยเสี่ยงที่ยังอยู่
อ่านเพิ่มเติม »

ตลาดทุนผันผวน รอท่าที 'เฟด' ต่างชาติเทขายหุ้นไทยกว่า 3 พันล้านตลาดทุนผันผวน รอท่าที 'เฟด' ต่างชาติเทขายหุ้นไทยกว่า 3 พันล้านตลาดทุนผันผวน รอท่าที 'เฟด' ต่างชาติเทขายหุ้นไทยกว่า 3 พันล้าน PPTVHD36 ช่อง36 หุ้น ตลาดทุน ตลาดหุ้น ลงทุน เฟด Fed ดอกเบี้ย ต่างชาติ เงินเฟ้อ
อ่านเพิ่มเติม »

ถึงเวลาเอาคืน ไทย พบ ตุรเคีย อีกครั้ง ในการแข่งขัน วอลเลย์บอลหญิง ชิงแชมป์โลกถึงเวลาเอาคืน ไทย พบ ตุรเคีย อีกครั้ง ในการแข่งขัน วอลเลย์บอลหญิง ชิงแชมป์โลกถึงเวลาเอาคืน ไทย พบ ตุรเคีย อีกครั้ง ในการแข่งขัน วอลเลย์บอลหญิง ชิงแชมป์โลก วอลเลย์บอล วอลเลย์บอลหญิง ทีมชาติไทย การแข่งขัน วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย ไทย-ตุรเคีย ทีมชาติตุรเคีย คาราคูร์ต ข่าวล่าสุด ข่าววันนี้ ข่าวด่วน ข่าว คมชัดลึก
อ่านเพิ่มเติม »

'นายกฯ' ปลื้ม ไทยติดผลการจัดอันดับโลกอย่างต่อเนื่อง'นายกฯ' ปลื้ม ไทยติดผลการจัดอันดับโลกอย่างต่อเนื่อง
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-01 14:12:45