เหตุค่าไฟฟ้า แพงมากกว่าปกติ

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

เหตุค่าไฟฟ้า แพงมากกว่าปกติ
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 Thansettakij
  • ⏱ Reading Time:
  • 36 sec. here
  • 2 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 18%
  • Publisher: 63%

เหตุค่าไฟฟ้า แพงมากกว่าปกติ . ถึงฤดูร้อนที่ไร โดยเฉพาะช่วงเดือนเมษายนของทุกปี ยิ่งปีนี้อุณหภูมิร้อนตับแลบ มีเสียงบ่นจากผู้ใช้ไฟฟ้าหรือประชาชนอย่างเราๆ ว่าทำไมค่าไฟฟ้าถึงได้แพงขึ้นกว่าทุกเดือนมาก ทั้งที่หน่วยการใช้ไฟฟ้า ก็ไม่ได้แตกต่างกันมากนัก ค่าไฟ

ถึงฤดูร้อนที่ไร โดยเฉพาะช่วงเดือนเมษายนของทุกปี ยิ่งปีนี้อุณหภูมิร้อนตับแลบ มีเสียงบ่นจากผู้ใช้ไฟฟ้าหรือประชาชนอย่างเราๆ ว่าทำไมค่าไฟฟ้าถึงได้แพงขึ้นกว่าทุกเดือนมาก ทั้งที่หน่วยการใช้ไฟฟ้า ก็ไม่ได้แตกต่างกันมากนักงวดเดือนมกราคม-เมษายน 23566 ปรับเพิ่มมาอยู่ที่ 93.43 สตางค์ต่อหน่วย ส่งผลค่าไฟฟ้าเฉลี่ยสำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทบ้านอยู่อาศัยอยู่ที่อัตรา 4.72 บาทต่อหน่วย และค่าไฟฟ้าประเภทอื่นๆ เช่น ภาคการผลิต ธุรกิจ อยูทที่ 5.

คันแรกมีผู้โดยสารนั่งไป 4 คน อีกคันมีผู้โดยสาร 1 คน คันแรกบรรทุกหนักมากกว่า ย่อมกินนํ้ามันมากกว่า เมื่ออุณหภูมิภายนอกสูง ทำให้เครื่องปรับอากาศต้องทำงานหนักเพิ่มขึ้น เพราะนํ้ายาแอร์ระบายความร้อนออกทางคอยล์ร้อนยากขึ้น จึงทำให้แอร์กินไฟมากยิ่งขึ้น เมื่อเทียบกับการเปิดแอร์ในระยะเวลาที่เท่ากันแต่ในอุณหภูมิภายนอกที่เย็นกว่า

หากอุณหภูมิความร้อนยังสูงต่อเนื่องไปถึงเดือนพฤษภาคม 2566 การไม่ปรับพฤติกรรมการใช้ไฟฟ้า ไม่ประหยัด หรือ ยังต้องพึ่งเครื่องปรับอากาศทำความเย็นต่อไป บอกได้เลยว่า ค่าไฟฟ้าก็ยังสูงต่อเนื่อง เพราะค่าเอฟทีช่วงพฤษภาคม-สิงหาคม 2566 ที่คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน พิจารณาลดลงมาเพียง 7 สตางค์ต่อหน่วย จากการลดการชำระหนี้ให้กับกฟผ.เฉพาะงวดนี้เหลือ 18,158 ล้านบาท จากงวดละ 2.27 หมื่นล้านบาท

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

Thansettakij /  🏆 23. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

Bio-Credit: มิติใหม่ของการใช้กลไกตลาดเพื่อดูแลสิ่งแวดล้อมBio-Credit: มิติใหม่ของการใช้กลไกตลาดเพื่อดูแลสิ่งแวดล้อมBio-Credit: มิติใหม่ของการใช้กลไกตลาดเพื่อดูแลสิ่งแวดล้อม : คอลัมน์เศรษฐเสวนา จุฬาฯทัศนะ โดย รศ.ดร.ขนิษฐา แต้มบุญเลิศชัย คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ฉบับ 3,882 หน้า 5 วันที่ 27 -29 เมษายน 2566
อ่านเพิ่มเติม »

อินเดียโกยเงินจากสงครามรัสเซีย-ยูเครน (จบ)อินเดียโกยเงินจากสงครามรัสเซีย-ยูเครน (จบ)นอกจากรัสเซียแล้ว อินเดียยังพยายามกลับมานำเข้าน้ำมันดิบจากอิหร่านอีกครั้ง หลังจากที่สหรัฐฯ ยกเลิกการแซงชั่นทางเศรษฐกิจ เราไปส่องรายละเอียดกันครับ ... ฐานเศรษฐกิจ อินเดีย
อ่านเพิ่มเติม »

ปีศาจในระบบธนาคารไทยปีศาจในระบบธนาคารไทยช่วงโควิดที่ผ่านมาใครที่อยู่วงการธนาคาร จะรู้ว่าลูกค้าหลายรายสาหัสมากๆ แต่มันไม่เหมือนสมัยต้มยำกุ้ง ปี 1997 อันนั้น ระบบสินเชื่อของไทยไปกู้เงินจากต่างประเทศมาแล้ว เอาเงินนั้นมาปล่อยสินเชื่อในประเทศ ถึงเวลาไม่มีคืน และเจอค่าเงินบาทลอยตัว เลยต้องไปกู้ IMF
อ่านเพิ่มเติม »

อินเดียโกยเงินจากสงครามรัสเซีย-ยูเครน (1)อินเดียโกยเงินจากสงครามรัสเซีย-ยูเครน (1)ข่าวอินเดียซื้อนํ้ามันดิบจากรัสเซียในราคาพิเศษนับแต่ปีก่อน ทำให้ท่านผู้อ่าน อาจคิดต่อได้ว่า อินเดียได้รับประโยชน์มากมาย ไล่ตั้งแต่การกดภาวะเงินเฟ้อจนอยู่หมัด การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจท้องถิ่นจากต้นทุนด้านพลังงานที่ตํ่า และอื่นๆ อินเดีย
อ่านเพิ่มเติม »

ไม่รู้เรื่องการตลาดชาติและหมู่ชนจะอับเฉา ฉากที่ 20ไม่รู้เรื่องการตลาดชาติและหมู่ชนจะอับเฉา ฉากที่ 20ถ้านักการตลาดการเมือง ไม่ติดเชื้อ “ผีห่าซาตาน” อีกไม่นานบ้านเราคงจะลบคำตัดพ้อที่ว่า “ผมเป็นนักขายเฟอร์นิเจอร์ โกดังที่จัดเก็บสินค้ามีอยู่สามชั้น มันคือบ้านของผมเอง” (ฮา) ฐานเศรษฐกิจ
อ่านเพิ่มเติม »

ช่วย SMEs จริงๆ ทำอย่างไรช่วย SMEs จริงๆ ทำอย่างไรช่วย SMEs จริงๆ ทำอย่างไร : คอลัมน์เรื่องเงินเรื่องง่าย โดย..นายธนาคาร หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ฉบับ 3880 หน้า 6
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-11 21:33:30