เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยศาสนา : คอลัมน์เศรษฐเสวนา จุฬาฯ ทัศนะ โดย...ผศ.ดร.กุลลินี มุทธากลิน คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฉบับ 4040
เศรษฐศาสตร์ ว่าด้วย ศาสนา โดยช่วยให้คำอธิบายว่าทำไมประเทศที่มีวัฒนธรรมและเศรษฐกิจที่คล้ายคลึงกัน จึงสามารถมีระดับการนับถือ และการเข้าร่วม ศาสนา ที่แตกต่างกันมาก ช่วยอธิบายลักษณะพิเศษของสหรัฐอเมริกา ที่มีระดับการนับถือและเข้าร่วมกิจกรรม ศาสนา ในระดับที่สูง ตรงกันข้ามกับการลดระดับการนับถือและการเข้าร่วมกิจกรรม ศาสนา ในยุโรปเหนือ ศาสนา ไม่ใช่ปริมณฑลของคนยากจน หรือ ไม่มีความรู้ ข้อมูลเชิงสถิติชี้ให้เห็นว่า อัตราความเชื่อทาง ศาสนา และกิจกรรมทาง ศาสนา มักจะไม่ลดลงตามรายได้ และอัตราความเชื่อและกิจกรรมทาง ศาสนา ...
แต่รูปแบบของศาสนาจะแตกต่างกันไปตามระดับรายได้ และการศึกษา ทั้งยังท้าทายสมมติฐานที่มีมายาวนาน เกี่ยวกับยุคกลางว่าเป็นยุคแห่งศรัทธาของผู้คน รวมถึงแนวโน้มการยอมรับศาสนา และความแตกต่างทางศาสนาที่เพิ่มมากขึ้นในยุโรปตะวันออก และสหภาพโซเวียตในปัจจุบัน สำหรับข้อจำกัดของเศรษฐศาสตร์ว่าด้วยศาสนาและตลาดศาสนาที่พัฒนามาจากแนวคิดของ สมิธ อิอันนาคโคน ระบุว่า มีงานวิจัยเกี่ยวกับศาสนาภายนอกสหรัฐอเมริกา และประเทศตะวันตกน้อยมาก การศึกษาของเขาจึงมุ่งเน้นไปที่ความเชื่อของศาสนา Judeo-Christian กิจกรรมต่างๆ และสถาบันที่เกี่ยวข้องกับศาสนาดังกล่าวในโลกตะวันตก โดยยังไม่ได้นำเอาเศรษฐศาสตร์ว่าด้วยศาสนาไปลองใช้ เพื่ออธิบายสถานการณ์ของตลาดศาสนา...
จึงน่าสนใจว่า ถ้าเศรษฐศาสตร์ว่าด้วยศาสนาถูกปรับมาใช้ในภูมิภาคอื่น ๆ รวมถึงไทย ตลาดศาสนาจะมีหน้าตาเป็นอย่างไร
เศรษฐศาสตร์ ศาสนา คอลัมน์เศรษฐเสวนา จุฬาฯ ทัศนะ ผศ.ดร.กุลลินี มุทธากลิน
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
สิ่งที่“มองเห็น”และ“มองไม่เห็น” ในทางเศรษฐศาสตร์สิ่งที่“มองเห็น”และ“มองไม่เห็น” ในทางเศรษฐศาสตร์ : คอลัมน์เศรษฐเสวนา จุฬาฯ ทัศนะ โดย... ผศ.ดร.พงศ์ศักดิ์ เหลืองอร่าม คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ฉบับ 4038
อ่านเพิ่มเติม »
มารู้จักกับ Life-Cycle Assessment (LCA) เพื่อวัด Carbon Footprintมารู้จักกับ Life-Cycle Assessment (LCA) เพื่อวัด Carbon Footprint : คอลัมน์เศรษฐเสวนา จุฬาฯทัศนะ โดย...รศ.ดร.วรประภา นาควัชระ อาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อ่านเพิ่มเติม »
PM2.5 ต้นทุนมลพิษทางเศรษฐกิจที่มองไม่เห็นPM2.5 ต้นทุนมลพิษทางเศรษฐกิจที่มองไม่เห็น : คอลัมน์เศรษฐเสวนา จุฬาฯทัศนะ โดย...รศ.ดร.ธัชนันท์ โกมลไพศาล คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ฉบับ 4034
อ่านเพิ่มเติม »
การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ก่อนและหลังการระบาดของโควิด-19การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ก่อนและหลังการระบาดของโควิด-19 : คอลัมน์เศรษฐเสวนา จุฬาฯทัศนะ โดย... รศ.ดร.กรรณิการ์ ดำรงค์พลาสิทธิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ และ ศูนย์เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ฉบับ 4028
อ่านเพิ่มเติม »
การไม่มีโรงภาพยนตร์ คือ ความเหลื่อมล้ำจริงหรือการไม่มีโรงภาพยนตร์ คือ ความเหลื่อมล้ำจริงหรือ : คอลัมน์เศรษฐเสวนา จุฬาฯ ทัศนะ โดย...ผศ.ดร.วัชรพงศ์ รติสุขพิมล คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ฉบับ 4027
อ่านเพิ่มเติม »
“CHULABOOK FAIR 2024” Revolutionizing Reading with AIจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดย ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาฯ ร่วมกับ บีอีซี เวิลด์ จำกัด(มหาชน) (สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสี ช่อง 3) จัดพิธีเปิดงาน “CHULABOOK FAIR 2024” Revolutionizing Reading with AI ขึ้น ณ ลานกิจกรรมชั้น 1 อาคารสยามสเคป โดย ศาสตราจารย์ ดร.
อ่านเพิ่มเติม »