ดาวเทียม THEOS-2 เลื่อนวันเวลาขึ้นสู่อวกาศ จิสด้าให้เหตุผลเบื้องต้นในเรื่องความปลอดภัยของดาวเทียม และรอเวลาที่เหมาะสม
เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ ความปลอดภัยต้องมาก่อน ทั้งนี้ รอติดตามความคืบหน้าจากทาง Airbus และ GISTDA จะประกาศกำหนดการนำส่งทั้งนี้ GISTDA ได้ฤกษ์ส่งดาวเทียม “ธีออส-2” ขึ้นสู่อวกาศในวันที่ 7 ต.ค. 2566 เวลา 8.36 น. ณ ท่าอวกาศยานเกียนา ฝรั่งเศส
จากนั้นจะใช้เวลาอีก 5-7 วันในการปรับตัวเองให้เข้าสู่วงโคจรที่แท้จริง และจะใช้เวลาอีกประมาณ 6 เดือนที่จะทดสอบระบบต่างๆ ก่อนเปิดให้บริการ ธีออส-2 เป็นดาวเทียมสำรวจโลก หรือ Earth observation satellite มีศักยภาพถ่ายภาพและผลิตภาพสีรายละเอียดสูงมากในระดับ 50 เซนติเมตร สามารถถ่ายภาพและส่งข้อมูลกลับมายังสถานีภาคพื้นดินได้ไม่ต่ำกว่า 74,000 ตารางกิโลเมตรต่อวัน
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
เลื่อนส่งดาวเทียม THEOS-2 หลังพบการแจ้งเตือน 'เรด สเตตัส'เลื่อนส่งดาวเทียมTHEOS-2 จากท่าอวกาศยานยุโรปเฟรนช์เกียนา ในทวีปอเมริกาใต้ หลังพบการแจ้งเตือน 'เรด สเตตัส' ก่อนการปล่อยจรวด 14 วินาทีสุดท้าย 'GISTDA' แจ้งความคืบหน้าให้ทราบต่อไป
อ่านเพิ่มเติม »
พรุ่งนี้ 7 โมง ไทยส่งดาวเทียม THEOS-2 จากท่าอวกาศยานยุโรปเฟรนช์เกียนาสู่วงโคจรพรุ่งนี้ 7 โมง ไทยพร้อมส่งดาวเทียม THEOS-2 จากท่าอวกาศยานยุโรปเฟรนช์เกียนา แอฟริกาใต้ ขึ้นสู่วงโคจร GISTDA ถ่ายทอดสัญญาณรับชมทั่วประเทศ วันที่ 6 ตุลาคม
อ่านเพิ่มเติม »
รู้จัก 'THEOS 2' ดาวเทียมสำรวจรายละเอียดสูงดวงแรกของไทย โดยฝีมือคนไทย ในวันที่ขึ้นสู่อวกาศ“THEOS-2” ได้กลายเป็นดาวเทียมสำรวจโลกดวงแรกของไทย โดยฝีมือคนไทย ที่สามารถขึ้นไปโคจรในอวกาศได้สำเร็จ โดยเป็นดาวเทียมสำรวจรายละเอียดสูงมากในระดับ 50 เซนติเมตร
อ่านเพิ่มเติม »
รู้จัก 'จรวด Vega' คู่หูดาวเทียม THEOS-2 เตรียมพร้อมขึ้นสู่อวกาศแล้วGISTDA ได้เผยภาพจรวด Vega ที่ใกล้เสร็จสมบูรณ์แล้ว ซึ่งจรวด Vega จะนำดาวเทียม THEOS-2 ขึ้นสู่อวกาศเพื่อไปทำภารกิจในวันที่ 7 ตุลาคม 08.36 น. นี้ จากท่าอวกาศยานยุโรปเฟรนช์เกียนาในทวีปอเมริกาใต้
อ่านเพิ่มเติม »
รู้จัก “ฉนวนกันความร้อน” ดาวเทียม “THEOS-2” เกราะป้องกันความร้อน-เย็นที่มากเกินไปพรุ่งนี้ (7 ต.ค. 66) เวลา 08.36 น. (ตามเวลาประเทศไทย) “THEOS-2” ดาวเทียมสำรวจโลก เตรียมขึ้นสู่วงโคจร ซึ่งการดาวเทียมที่โคจรอยู่ในห้วงอวกาศจะต้องเผชิญกับสภาพแวดล้อมที่โหดร้ายและมีความแตกต่างของอุณหภูมิเป็นอย่างมาก
อ่านเพิ่มเติม »