เลือกตั้ง 66 เนชั่นวิเคราะห์ยกแรก สนามกลางเมืองภาคตะวันออก แข่งขันกันดุเดือดเพื่อช่วงชิงเก้าอี้ ส.ส. จำนวน 29 คน พรรคการเมืองไหนคว้าเก้าอี้เขตไหนมากที่สุดอ่านที่นี่มีคำตอบ เลือกตั้ง2566 เลือกตั้ง66 ฐานเศรษฐกิจ
นับถอยหลังเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร หรือ ส.ส. แบบแบ่งเขต หรือ แบบบัญชีรายชื่อ โดย คณะกรรมการการเลือกตั้ง กำหนดวันที่ 14 พฤษภาคม 2566 เป็นวันลงคะแนนเสียงอย่างเป็นทางการสนามเลือกตั้งภาคตะวันออก มีจำนวน ส.ส. 29 คน โดย ภาคตะวันออก แต่ละพรรคส่งผู้สมัครช่วงชิงเก้าอี้ ส.ส. ดังนี้สำหรับศึกชิงเก้าอี้ว่าที่ ส.ส. จันทบุรีทั้ง 3 เขตเลือกตั้ง มีแนวโน้มแข่งขันกันดุเดือด เนื่องจากแต่ละพรรค ต่างแย่งชิงผู้สมัคร ส.ส.
เขตนี้ เมื่อนายยุคล อดีตส.ส.
สำหรับเขต 1 สนามถิ่นเดิมของ “ฉายแสง” บ้านใหญ่ในตำนานที่พลาดโอกาสลงสนามกลางคันเมื่อสมัยการเลือกตั้งครั้งที่แล้ว จากการถูกยุบพรรค “ไทยรักษาชาติ” และ พ่ายต่อการเลือกตั้งต่อเนื่องรวม 2 สมัย ในปีนี้ “ฐิติมา ฉายแสง” อดีต ส.ส.หญิงเพียงหนึ่งเดียวของเมืองแปดริ้วพร้อมลุยงานลงสนามสู้ศึกในนามพรรคเพื่อไทย เขตนี้ฐิติมาถือว่ามาแรงสุด
นอกจากนี้ ยังมี นายประโยชน์ โสรัจจกิจ อดีตพนักงานการประปา อดีตประธานหอการค้า จ.ฉะเชิงเทรา มาแล้ว 1 สมัย และเตรียมความพร้อมมาขอลงสมัครในนามของพรรคประชาธิปัตย์ นายเถลิง จูจำรัส เศรษฐีผู้ไต่เต้าเติบโตมาจากวงการค้าเป็ดลงในนามของพรรคชาติไทยพัฒนา ล่าสุด “เชิดชัย บัณฑุเจษฎา”ลงสมัครในนามพรรค “เสรีรวมไทย”เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วย
ประกอบด้วย นายศุภกร นพศิริ พรรคประชาธิปัตย์ ,นายจิรัฏฐ์ ทองสุวรรณ์ อดีต ส.ส.ฉะเชิงเทรา พรรคก้าวไกล , จ่าเอกยศสิงห์ เหลี่ยมเลิศ พรรครวมไทยสร้างชาติ , นายอนุเทพ ชาติเชษฐ์พงษ์ พรรคเสรีรวมไทย,นายวุฒิพงศ์ ฉายแสง พรรคเพื่อไทย ,น.ส.สาริศา แสงจันทร์ พรรคภูมิใจไทย , พล.ต.ท.พิทักษ์ จารุสมบัติ พรรคพลังประชารัฐ และ นายสุระเด่น สุวรรณะ พรรคไทยศรีวิไลย์
ประกอบกับกลุ่มบ้านใหญ่ยังต้องการยึดอำนาจเบ็ดเสร็จทั้งหมด ทำให้นักการเมืองท้องถิ่นหลายคนไม่มีโอกาสแจ้งเกิดทางการเมือง จึงได้ตัดสินใจแยกตัวออกมา โดย รัฐมนตรีเฮ้ง ได้เข้าสังกัดพรรครวมไทยสร้างชาติ พร้อมทั้งยืนยันว่าจะติดตามบิ๊กตู่ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ที่ผลักดันให้นั่งตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ส่วนบ้านใหญ่เข้าสังกัดพรรคเพื่อไทย
ส่วนผู้สมัคร ส.ส.ของพรรคอื่น ๆ ยังไม่มีความโดดเด่น แต่พรรคที่น่าสนใจคือ พรรคก้าวไกล ซึ่ง นายวรท ศิริรักษ์ ลงสมัครรับเลือกตั้ง แต่พื้นที่อยู่ใน ต.บางทราย อ.เมืองชลบุรี จึงต้องใช้กระแสพรรคช่วย จึงทำให้คะแนนเสียงไม่โดดเด่นเท่าที่ควร โอกาสที่ น.ส.สุภีพันธุ์ จะได้รับการเลือกตั้งจึงมีสูงตามไปด้วยเขต 2 พรรคเพื่อไทยส่ง นายฉัตรชัย อั้งลิ้ม อดีตนายกเทศมนตรีเมืองบ้านสวนลงสมัครรับเลือกตั้ง โดยจะแข่งกับ นายคงพัชร ไขรัศมี อดีต สจ.
สำหรับเขต 4 สนามนี้ถึงแม้ว่า ส.ส.ต้น จะโดดเด่น แต่ ส.ส.เป้า ครั้งนี้ก็มีความพร้อมทั้งทรัพยากร และอำนาจรัฐ ถือว่าทั้งพรรคเพื่อไทย และ พรรครวมไทยสร้างชาติ มีโอกาสได้รับเลือกตั้งเท่าๆ กัน อยู่ที่ใครจะกำหัวคะแนนได้มากกว่ากัน ผู้นั้นก็จะได้รับชัยชนะ หากนายพันธ์ศักดิ์ เกตุวัตถา อดีต ส.ส.ชลบุรี หันมาช่วย นายสมเจตน์ ก็จะทำให้คะแนนเสียงโดดเด่นขึ้นมา เนื่องจากบ้านใหญ่มีความเห็นต่างกันอย่างรุนแรง พร้อมประกาศว่าจะไม่คบคนในตระกูล “เกตุวัตถา” อย่างไรก็ตามสนามนี้นายสนธยา ยอมแพ้ไม่ได้ จะต้องหาหนทางดับฝันนายสมเจตน์ ทำให้นางสุกุมลมีโอกาสชนะสูง
ถือว่า นายนิรันดร์ เล่นการเมืองมาแล้วหลายสมัย มีความช่ำชองในเรื่องของฐานเสียง ส่งผลให้ฐานคะแนนของนายชวลิตกับนายนิรันดร์สูสี จึงต้องมาวัดกันในเรื่องหัวคะแนน หากใครกุมหัวคะแนนได้มากกว่า ก็มีโอกาสได้รับชัยชนะ ที่่ผ่านมาผลงาน ทิณวัฒน์ กำนันมือปราบยาเสพติด อาชญากรรมมากมาย หวังโหนกระแสอุ๊งอิ๊งเข้าสภา อีกทั้งยังได้FC จากชมรมผู้สูงอายุทุกแห่งในจังหวัดตราด และแฟนคลับสโมสรตราดFC ที่ วิเชียร ทรัพย์เจริญ ทำอยู่ เป็นฐานคะแนนสำคัญขณะเดียวกันก็ยังมีฐานคะแนนจาก ส.จ.เขต ต่าง ๆ ทั่ว จังหวัดตราด ที่วิเชียร ดึงเป็นฐานคะแนนในสังกัดไว้เกือบหมดแล้ว จึงค่อนข้างมั่นใจได้ว่า งานนี้ ทิณวัฒน์ เจียมอุย น่าจะลอยลำเข้าสภาตามคาด
มาที่วศิน พงษ์ศิริ ดาวรุ่งจากพรรคภูมิใจไทย มาแรงจากผลงานมากมายเช่นกัน เป็นที่ปรึกษารฐัมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และ อดีต รมช.สาธารณะสุข เป็นฐานเสียงหลัก แต่นาทีนี้ นางกฤษณ์กมล ยังเป็นเบอร์รอง แม้จะอยู่พรรคเพื่อไทย ที่เพิ่งเปลี่ยนมาสวมเสื้อสีแดง ทำให้ ชาว นปช.ในพื้นที่ ไม่ปลื้ม เพราะในอดีต “หมอหนา” สวมเสื้อสีส้มของอนาคตใหม่หรือ พรรคก้าวไกลปัจจุบันมาก่อน ไม่ได้ร่วมกิจกรรมทางการเมืองกับคนเสื้อแดงในพื้นที่ แถมมาชิงตัดหน้าเป็น ผู้ส.ส.ของพรรคเพื่อไทย ทั้งที่คนเสื้อแดงหวังว่าพรรคจะส่งลงสมัครส่วนว่าที่ ส.ส.เขตเลือกตั้งที่ 2 คงเป็นอดีต ส.ส.คนเดิมของพรรคภูมิใจไทยคือ นายชยุต ภุมมะกาญจนะ บุตรชายของ นายสมาน ภุมมะกาญจนะ อดีต รมช.
ในอดีต นายสุนทร พบปะกับประชาชนมาตลอด เกี่ยวกับการส่งเสริมการทำเกษตรอินทรีย์,การรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อม - การต่อต้านขยะพิษ-ขยะอุตสาหกรรม ,การอนุรักษ์ต้นน้ำบางปะกง การวางโครงสร้างผลักดันช้างป่า เขตเขาอ่างฤาไน จากจังหวัดฉะเชิงเทรา ที่บุกข้ามฝั่งมาหากินที่ปราจีนฯ เขต1 สมพงษ์ โสภณ อดีต ส.ส. พรรคพลังประชารัฐ ล่าสุดย้ายไปลงสนามเลือกตั้งในนามพรรครวมไทยสร้างชาติ แข่งกับ พเนตร วงษ์ไพศาล พรรคเพื่อไทย และพศิน ปิตุเตชะ พรรคประชาธิปัตย์ โดยมีเอิร์ธ กมนทรรศ์ กิตติสุนทรสกุล ผู้สมัครหน้าใหม่จากก้าวไกลมาเป็นตัวสอดแทรกที่สำคัญ
เขตนี้ ชัยณรงค์ จากเพื่อไทยเหนือกว่าหมอบัญญัติ จากประชาธิปัตย์ที่ไม่ขยันลงพื้นที่ และเขตนี้ไม่ใช่พื้นที่ตัวเองยิ่งเสียเปรียบเขต 4 เขตนี้ การแบ่งพื้นที่ ควบ 3 อำเภอ คือ ปลวกแดง บ้านค่าย วังจันทร์ มีอดีต ส.ส. 5 สมัย ธารา ปิตุเตชะ หรือเสี่ยทุ่น คุมพื้นที่ ฐานคะแนนยังหนาแน่น และยังสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เช่นเดิม แต่คู่แข่งคนใหม่ที่คุ้นเคย และน่าจับตามอง คือ วิเชียร สุขเกิด อดีตนายก อบต.บางบุตร คนเคยสนิท ลงสมัครพรรคเพื่อไทย ที่ตั้งหลักมาชนกับ อดีต สส.
แยกตัวออกมาก่อตั้งเป็นจังหวัด ลำดับที่ 74 ของประเทศไทย มีทั้งหมด 9 อำเภอ จำนวนประชากร รวมทั้งสิ้น 560,925 คน เป็นชาย 280,017 คน หญิง 280,908 คน อำเภอที่มีประชากรมากที่สุด ได้แก่ อำเภอเมืองสระแก้ว จำนวน 104,903 คน รองลงมาได้แก่ อำเภออรัญประเทศ จำนวน 91,035 คน และอำเภอวัฒนานคร จำนวน 82,304 คน มี นายฐานิสร์ เทียนทอง พรรคพลังประชารัฐ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเขตเลือกตั้งที่ 1 ,เขตเลือกตั้งที่ 2 อำเภอวัฒนานคร ,อำเภอคลองหาด ,อำเภอวังสมบูรณ์ ,อำเภอวังน้ำเย็น มี นางสาวตรีนุช เทียนทอง พรรคพลังประชารัฐ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเขตเลือกตั้งที่ 2
สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1 จ.สระแก้ว ณ วันนี้ มีแคนดิเดต ประกอบด้วย นางขวัญเรือน เทียนทอง อดีตนายก อบจ.สระแก้ว ซึ่งลาออกจากตำแหน่งเพราะแรงกดดันเมื่อวันที่ 1 ก.พ.ที่ผ่านมา เป็นมารดาของ ส.ส.ทั้งเขต 1 และเขต 2 เป็นน้องสะใภ้ของนายเสนาะ เทียนทอง เปลี่ยนเส้นทางมาลงเล่นการเมืองระดับประเทศและเปิดตัวในนามพรรคพลังประชารัฐเมื่อวันก่อน ลงสมัคร ส.ส.สระแก้ว เขต 1 แทนลูกชาย นายฐานิสร์ เทียนทอง อดีต ส.ส.
ไม่เพียงเท่านั้น ทั้งคู่ยังต้องพบกับคู่ชิงจากพรรคเพื่อไทย ที่รอบนี้ นายเสนาะ เทียนทอง ได้วางตัวให้ นายกฤษณ สุนทรกิจพาณิชย์ อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนเขาฉกรรจ์วิทยาคม สังกัด อบจ.สระแก้ว และอดีตประธานสหกรณ์ออมทรัพย์ครูสระแก้ว เข้าลงชิงเก้าอี้ ซึ่งชูสโลแกน ถ้าอยากเห็นอนาคตของลูกหลานเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น เลือกเพื่อไทย ทั้งคนทั้งพรรคแบบแลนด์สไลด์ทั้งประเทศอีกด้วย
หลังจากพยายามจะย้ายพรรคเพื่อเกาะกระแสพรรคดัง โดยเดินทางไปไกลโพ้น แต่ก็ถูกปฏิเสธ จึงกลับมาเร่งออกงานหาคะแนนเสียง หวังจะนั่งเก้าอี้ ส.ส.เขต 2 ต่อไปอีกสมัย เพราะ ส.ส.เหน่ง ยังเชื่อว่า ตนเองมีฐานเสียงเป็นกลุ่มผู้นำท้องถิ่น และกลุ่มองค์กรต่าง ๆ สามารถกวาดคะแนนจนชนะคู่แข่งมาแล้วหลายสมัย
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
ปูเสื่อรอ เย็นวันนี้ ‘เนชั่นวิเคราะห์’ เปิดข้อมูล 400 เขตเลือกตั้งสื่อในเครือเนชั่น เตรียมเปิดเผยข้อมูล ‘เนชั่นวิเคราะห์’ เลือกตั้ง 2566 ทั้ง 400 เขตเลือกตั้ง 'พรรคไหนครองบ้าง' ช่วงเย็นวันนี้ 17.30น.
อ่านเพิ่มเติม »
เลือกตั้ง 2566 : เนชั่นวิเคราะห์ เพื่อไทยนำโด่ง แต่ไม่แลนด์สไลด์เนชั่นวิเคราะห์ สนามเลือกตั้ง 2566 ทั่วประเทศ 400 เขตครั้งที่ 1 'เพื่อไทย'นำโด่งแต่ไม่แลนด์สไลด์ กวาดส.ส.ภาคอีสานมากสุด 100 เขต ทิ้งห่างภูมิใจไทย ประชาธิปัตย์ ประชารัฐ ก้าวไกล รวมไทยสร้างชาติ เลือกตั้ง2566 เลือกตั้ง66 ฐานเศรษฐกิจ
อ่านเพิ่มเติม »
เลือกตั้ง 2566 : เนชั่นวิเคราะห์ สนามภาคอีสาน 20 จังหวัดเนชั่นวิเคราะห์ สนามเลือกตั้ง 2566 ภาคอีสาน 20 จังหวัด ครั้งที่ 1 แต่ละพรรค มีแนวโน้มผลการเลือกตั้ง ส.ส. พร้อมรายละเอียดความเคลื่อนไหวของพรรคต่าง ๆ ภายในพื้นที่ทุกจังหวัด รวมไว้ครบ เลือกตั้ง2566 เลือกตั้ง66 ฐานเศรษฐกิจ
อ่านเพิ่มเติม »
เลือกตั้ง 2566 : เนชั่นวิเคราะห์ ผลเลือกตั้ง ส.ส. ภาคใต้ 14 จังหวัด ครั้งที่ 1เนชั่นวิเคราะห์ ศึกเลือกตั้ง 2566 ครั้งที่ 1 พื้นที่ 14 จังหวัดภาคใต้ เจาะลึกข้อมูลเขตเลือกตั้งรายจังหวัด ผู้สมัครช่วงชิงเก้าอี้ ส.ส. 60 ตำแหน่ง เขตไหนใครนำ เลือกตั้ง2566 เลือกตั้ง66 ฐานเศรษฐกิจ
อ่านเพิ่มเติม »
ชมสด “เนชั่นวิเคราะห์” เลือกตั้ง โค้งแรก เปิดข้อมูลตัวเลข ส.ส. 400 เขตทั่วไทย“เนชั่นวิเคราะห์” เปิดข้อมูล 400 เขตทั่วไทย ผ่านรายการ nation insight ทางช่อง Nation TV 22 วันที่ 21 เมษายน 2566 เวลา 17.30 น. เนชั่นโพล NationInsight เนชั่นวิเคราะห์ ข่าววันนี้ NationOnline
อ่านเพิ่มเติม »
เลือกตั้ง 2566 : เนชั่นวิเคราะห์เลือกตั้ง ส.ส. ภาคเหนือ 16 จังหวัดเลือกตั้ง 2566 : เนชั่นวิเคราะห์สนามเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 16 จังหวัดภาคเหนือ ครั้งที่ 1 ผู้สมัครพรรคไหน ใครนำ คลิกอ่านรายละเอียดได้ที่นี่ เลือกตั้ง2566 เลือกตั้ง66 ฐานเศรษฐกิจ
อ่านเพิ่มเติม »