พ.ต.ท. กีรป กฤตธีรานนท์ เลขาธิการสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน แจงยึดหลักกฎหมาย ปมส่งศาลรธน.ตีความมติห้ามเสนอชื่อ 'พิธา' ซ้ำ
พ.ต.ท. กีรป กฤตธีรานนท์ เลขาธิการสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน ชี้แจงถึงการที่ผู้ตรวจการแผ่นดินมีมติส่งเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่ามติรัฐสภาเมื่อวันที่ 19 ก.ค.
“ที่สำคัญในคำร้องเรียนผู้ร้องเรียนได้ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งชะลอการให้ความเห็นชอบบุคคลเพื่อแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีไว้ก่อน จนกว่าศาลรัฐธรรมนูญจะมีคำวินิจฉัย ซึ่งเป็นอำนาจของศาลรัฐธรรมนูญที่สามารถใช้ดุลยพินิจพิจารณามาตรการหรือวิธีการใด ๆ เป็นการชั่วคราวก่อนการวินิจฉัยได้ ตามพ.ร.ป.ว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญพ.ศ.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
'วันนอร์' แจงเลื่อนโหวตนายกฯรอบ 3 ไม่เกี่ยวการเมือง เบรก 'ก้าวไกล' ทบทวนมติ เสนอชื่อ 'พิธา' ซ้ำ'วันนอร์' แจงเลื่อนโหวตนายกฯรอบ 3 ไม่เกี่ยวการเมือง ไม่จำเป็น 'ก้าวไกล' ชงทบทวนมติ เสนอชื่อ 'พิธา'ซ้ำ บอกเรื่องถึงศาลรัฐธรรมนูญแล้ว หากรัฐสภาวินิจฉัยขัดแย้ง อาจเกิดปัญหา
อ่านเพิ่มเติม »
“วันนอร์” ยันเลื่อนประชุมโหวตนายกฯ ไร้ปมการเมือง รอศาลรัฐธรรมนูญชี้ขาด ปมประชุมสภา 19 ก.ค.'วันนอร์' ยันเลื่อนประชุมโหวตนายกฯ ไร้ปมการเมือง รอศาลรัฐธรรมนูญชี้ขาดปมมติไม่ให้โหวตชื่อ 'พิธา' ซ้ำ เผยอยู่ระหว่างการหารือกำหนดวันประชุมรัฐสภาอีกครั้ง
อ่านเพิ่มเติม »
คืบหน้าผู้ตรวจการแผ่นดิน ยื่นศาลรธน.ปมเสนอชื่อ ‘พิธา’ ซ้ำ เริ่มวินิจฉัยเมื่อไร?วันนี้ ( 26 ก.ค. 66 ) ภายหลังการประชุมคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญประจำสัปดาห์ช่วงเที่ยงที่ผ่านมา ศาลรัฐธรรมนูญ ได้แจ้งว่า จากกรณีเมื่อวันที่ 15 ก.ค. 66 เวลา 15:00 น. ผู้ตรวจการแผ่นดิ
อ่านเพิ่มเติม »
เลขาผู้ตรวจการแผ่นดินแจงปมส่งศาลรธน.ตีความมติรัฐสภาห้ามเสนอชื่อ'พิธา'ซ้ำ ยึดหลักกม. : อินโฟเควสท์พ.ต.ท. กีรป กฤตธีรานนท์ เลขาธิการสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน ชี้แจงถึงการที่ผู้ตรวจการแผ่นดินมีมติส่งเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่ามติรัฐสภาเมื่อวันที่ 19 ก.ค. ที่ห้ามเสนอชื่อนายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ หัวหน้าพรรคก้าวไกล เป็นนายกรัฐมนตรีถือเป็นญัตติซ้ำตามข้อบังคับการประชุมรัฐสภา 2563 ข้อที่ 41 เป็นการละเมิดสิทธิเสรีภาพของผู้ร้องเรียนและขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ และขอให้ศาลรัฐธรรมนูญสั่งให้รัฐสภาระงับหรือการดำเนินการให้ความเห็นชอบบุคคลเป็นนายกรัฐมนตรีไว้จนกว่าศาลรัฐธรรมนูญจะมีคำวินิจฉัยนั้นว่า นอกจากผู้ตรวจการแผ่นดินจะมีบทบาท หน้าที่และอำนาจตามพ.ร.ป ว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดิน พ.ศ. 2560 มาตรา 22 แล้วนั้น ยังมีหน้าที่และอำนาจตามพ.ร.ป.ว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ 2561 มาตรา 46 และมาตรา 48 ที่กำหนดว่า เมื่อบุคคลถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพตามที่รัฐธรรมนูญคุ้มครองไว้จากการกระทำของหน่วยงานของรัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือหน่วยงานซึ่งใช้อำนาจรัฐ ซึ่งการละเมิดนั้นเป็นผลจากบทบัญญัติแห่งกฎหมายขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ ผู้ถูกละเมิดสิทธิสามารถยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญได้ แต่ต้องยื่นเรื่องผ่านผู้ตรวจการแผ่นดินก่อน โดยให้ผู้ตรวจการแผ่นดินพิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน 60 วัน ถ้าผู้ตรวจการแผ่นดินไม่ยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญ หรือไม่พิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน 60 วัน ซึ่งผู้ตรวจการแผ่นดินเห็นว่า ผู้ร้องเรียนจึงมีสิทธิยื่นคำร้องโดยตรงต่อศาลรัฐธรรมนูญ และ ผู้ร้องเรียนถูกละเมิดสิทธิเสรีภาพโดยตรง จากการกระทำของรัฐสภา ซึ่งถือเป็นหน่วยงานที่ใช้อำนาจรัฐที่ย่อมถูกตรวจสอบได้โดยศาลรัฐธรรมนูญ และมติตีความของรัฐสภาที่เกิดขึ้น มีผลเป็นการนำข้อบังคับการประชุมไปทำให้กระบวนการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีไม่เป็นไปตามที่รัฐธรรมนูญ กำหนดเรื่องการพิจารณาให้ความเห็นชอบเพื่อแต่งตั้งบุคคลเป็นนายกรัฐมนตรีไว้เป็นการเฉพาะแล้วมาตรา มาตรา 159 […]
อ่านเพิ่มเติม »
'วิโรจน์' เตรียมขันน็อต 'ก้าวไกล' หลังคนขุดประวัติ 'ไอซ์ระยอง-พี่ต้น''วิโรจน์' เผย ทีมกฎหมาย 'ก้าวไกล' กำลังตรวจสอบ ปม 'ไอซ์ระยอง' ยอมรับต้องปรับปรุงพรรค ส่วนกรณี 'พี่ต้น' คนติดตาม 'พิธา' มอง ปัจจุบันกลับใจแล้ว ถามกลับ 'สังคมจะไม่ให้โอกาสเขาเลยหรือ'
อ่านเพิ่มเติม »