'สุพิศ' สั่งรับมือสถานการณ์ 'เอลนีโญ' ระดมเจ้าหน้าที่เร่งทำฝนในช่วงปลายฤดูฝน โดยเฉพาะพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง บริเวณทุ่งกุลาร้องไห้-ภาคเหนือตอนล่าง - ภาคกลาง เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของเกษตรกร และเพิ่มปริมาณน้ำให้กับเขื่อน-อ่างเก็บน้ำทั่วประเทศ
มีแนวโน้มแรงขึ้นในช่วงปลายปี 2566 และต่อเนื่องจนถึงปี 2567 กรมฯ ได้สั่งการให้มีการตั้งหน่วยปฏิบัติการฝนหลวงทั่วประเทศ จำนวน 11 หน่วยปฏิบัติการ เพื่อเร่งทำฝนในช่วงปลายฤดูฝน
ทั้งนี้กรมฝนหลวงและการบินเกษตร พร้อมปฏิบัติการทำฝน เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของเกษตรกร และเพิ่มปริมาณน้ำให้กับเขื่อนและอ่างเก็บน้ำทั่วประเทศ - ภาคเหนือ มี 3 หน่วย ที่ จ.เชียงใหม่ ใช้เครื่องบินขนาดกลาง จำนวน 2 ลำ จ.ตาก ใช้เครื่องบินขนาดกลาง จำนวน 2 ลำ และ จ.พิษณุโลก ใช้เครื่องบินขนาดกลาง จำนวน 2 ลำ และเครื่องบิน Super King Air 350 จำนวน 1 ลำ
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มี 3 หน่วย ที่ จ.ขอนแก่น ใช้เครื่องบินขนาดกลาง จำนวน 1 ลำ และขนาดใหญ่ 1 ลำ จ.นครราชสีมา ใช้เครื่องบินขนาดใหญ่จำนวน 1 ลำ และ จ.สุรินทร์ ใช้เครื่องบินขนาดเล็ก จำนวน 3 ลำ- ภาคใต้ มี 2 หน่วย ที่อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ใช้เครื่องบินขนาดเล็ก จำนวน 2 ลำ และ จ.นครศรีธรรมราช ใช้เครื่องบินขนาดเล็ก จำนวน 2 ลำ
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
รับมือเอลนีโญ!! เร่งทำฝนหลวงลดวิกฤตภัยแล้งปลายฤดูฝน ฝนหลวงฯ เร่งทำฝนบรรเทาวิกฤตภัยแล้งทั่วประเทศ พร้อมรับมือสถานการณ์ “เอลนีโญ” วันที่ 1 ก.ย.66 นายสุพิศ พิทักษ์ธรรม อธิบดีกรมฝนหลวงและการบินเกษตร เปิดเผยว่า ขณะนี้ทั่วทุกภาคของประเทศไทยเข้าสู่ฤดูกาลเพาะปลูก ทำให้ในหลายพื้นที่มีความต้องการน้ำเพื่อการเกษตรเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะพื้นที่การเกษตรที่อาศัยน้ำฝนมีปริมาณและการกระจายของฝนน้อยประกอบกับน้ำต้นทุนในเขื่อนและอ่างเก็บน้ำต่าง ๆ รวมถึงแหล่งน้ำตามธรรมชาติมีปริมาณลดน้อยลง และจากข้อมูลของกรมอุตุนิยมวิทยา คาดการณ์ว่า สถานการณ์ “เอลนีโญ” มีแนวโน้มแรงขึ้นในช่วงปลายปี 2566 และต่อเนื่องจนถึงปี 2567 กรมฝนหลวงและการบินเกษตร จึงสั่งการให้มีการตั้งหน่
อ่านเพิ่มเติม »
กยท.ฟันธง! แนวโน้มราคายางสดใส เตือนเกษตรกรรับมือ 'เอลนีโญ' กระทบผลผลิตกยท.ฟันธง! แนวโน้มราคายางสดใส มีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น พร้อมเตือนเกษตรกรรับมือ 'เอลนีโญ' กระทบผลผลิต ทำให้น้อยลง
อ่านเพิ่มเติม »
'เอลนีโญ' สัญญาณเตือนวิกฤติ จากภาวะโลกร้อน สู่ภาวะโลกแล้งเอลนีโญ เป็นสัญญารเตือนว่า โลกเรากำลังเข้าสู่ภาวะวิกฤติ ไม่เพียงแค่โลกร้อน แต่กำลังก้าวสู่ภาวะโลกแล้ง กลายเป็นความท้าทายของภาคการเกษตรและการบริหารจัดการน้ำของไทย ซึ่งเป็นประเทศที่มีการส่งออกสินค้าเกษตรอันดับต้นๆ ของโลก
อ่านเพิ่มเติม »
ชง 3 ประเด็นรัฐบาลใหม่ เร่งรับมือ“เอลนีโญ” คาดถล่มไทยธ.ค. 66 นี้คาดการณ์ประมาณเดือนธันวาคม 2566 ประเทศไทยจะเผชิญกับ 'เอลนีโญ' จะเกิดภัยแล้งและฝนทิ้งช่วงในหลายพื้นที่ โดยจะเห็นสัญญาณฝนทิ้งช่วงได้ชัดเจน นับตั้งแต่เดือนกันยายน – พฤศจิกายน 66 และจะเริ่มทวีความรุนแรงช่วงเดือนธันวาคม 2566
อ่านเพิ่มเติม »
จากโลกร้อนสู่โลกแล้ง 'เอลนีโญ' ที่รุนแรง ต.ค.นี้ ฝนหมดแล้ว ลุ้นรอดหรือร่วงจากโลกร้อนสู่โลกแล้ง ผลพวงจากปรากฎการณ์ 'เอลนีโญ' เข้าสู่โหมดรุนแรง เริ่มส่งสัญญาณเตือนจากฝนน้อยคาดการณ์ตุลาคมนี้ฝนหมดแล้ว นับจากนี้อีก 2 ปีเตรียมการให้ดี
อ่านเพิ่มเติม »
ภาครัฐเริ่มส่งสัญญาณถึงชาวนาหลัง 'เอลนีโญ' ทวีความรุนแรงแบบไม่ปราณีภาครัฐเตรียมจัดการน้ำแบบปราณีตพร้อมส่งสัญญาณถึงชาวนา และภาคเกษตรกรรมหลังปรากฎการณ์ 'เอลนีโญ' เริ่มรุนแรงแบบไร้ความปราณี
อ่านเพิ่มเติม »