ตามที่ปรากฎในข่าวในช่วงไม่นานมานี้ กรณี “การโดนแฮก (Hack) บัตรเครดิต และนำไปจ่ายโฆษณาทาง Social Media” โดยทาง ธปท. และสมาคมธนาคารไทย ได้รับทราบถึงปัญหา โดยการออกมาตรการต่างๆ ให้สถาบันการเงินต้องปฏิบัติ กรุงเทพธุรกิจ กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
" ออกแถลงการณ์แล้วว่า ตามที่มีข่าวใน Social Media เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2566 ว่า ผู้ถือบัตรเครดิตของธนาคารถูกนำหมายเลขบัตรไปทำรายการในการซื้อโฆษณากับร้านค้าทางอินเตอร์เน็ต และได้รับ SMS จากทางธนาคาร โดยผู้ถือบัตรได้ปฏิเสธการทำรายการต่อธนาคารในวันเดียวกัน ธนาคารตรวจสอบแล้วได้ข้อยุติว่าผู้ถือบัตรไม่ต้องรับผิดชอบต่อรายการดังกล่าว
กรณีการใช้บัตรเครดิตในการซื้อสินค้าและบริการทางอินเตอร์เน็ต ธนาคารมีระบบแจ้งเตือนลูกค้า ที่ทำรายการทางอินเตอร์เน็ตทุกรายการ ด้วยการส่งผ่านทาง SMS และ/หรือ ข้อความแจ้งเตือน ผ่าน Mobile Banking
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
บทนำ : แก้หนี้ครัวเรือนบทนำ : แก้หนี้ครัวเรือน ธนาคารแห่งประเทศไทย : ธปท.โดย น …
อ่านเพิ่มเติม »
ธปท.แจงเงินถูกดูดออกจากบัญชี ไม่ใช่มาจากสายชาร์จปลอมธปท.แจงเงินถูกดูดออกจากบัญชี ไม่ใช่มาจากสายชาร์จปลอม อ่านต่อ : iNNNews ธปท เตือนภัย มิจฉาชีพ สายชาร์จ โกงเงิน ข่าววันนี้ ไม่พลาดทุกเรื่องอินเทรนด์
อ่านเพิ่มเติม »
แนะวิธีป้องกันไม่ให้ตกเป็นเหยื่อมิจฉาชีพ ทำตามนี้? ปลอดภัยแน่นอนมิจฉาชีพระบาดหนัก! ธนาคารแห่งประเทศไทยแนะ 5 วิธีป้องกันไม่ให้ประชาชนตกเป็นเหยื่อ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ขอความร่วมมือจากประชาชนเพิ่มความระมัดระวัง เพื่อมิให้ตกเป็นเหยื่อมิจฉาชี
อ่านเพิ่มเติม »
แบงก์ชาติ พบแอปฯฝังมัลแวร์ ดูดเงินเหยื่อ ไม่ใช่ “สายชาร์จปลอม”ธนาคารแห่งประเทศไทย และสมาคมธนาคารไทย เผยผลสอบผู้เสียหายไม่ได้ถูกสายชาร์จปลอมดูดข้อมูล และโอนเงินออกจากบัญชี แต่เกิดจากถูกมิจฉาชีพหลอกติดตั้งแอปฯฝังมัลแวร์ พร้อ...
อ่านเพิ่มเติม »
ไม่จริง! สายชาร์จดูดเงินไม่ได้ แต่ถูกหลอกโหลดแอปฯปลอม : อินโฟเควสท์ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ชี้แจงถึงกรณีมีข่าวพบผู้เสียหายจากการใช้งานสายชาร์จปลอม แล้วถูกดูดข้อมูลและโอนเงินออกจากบัญชีนั้น ธปท. ได้หารือสมาคมธนาคารไทย เพื่อตรวจสอบกรณีดังกล่าวแล้ว พบว่า ไม่ได้เกิดจากการใช้งานสายชาร์จปลอม แต่เกิดจากผู้เสียหายถูกมิจฉาชีพหลอกลวงให้ติดตั้งแอปพลิเคชันปลอมที่แฝงมัลแวร์ ทำให้มิจฉาชีพล่วงรู้ข้อมูลการทำธุรกรรมของลูกค้า และควบคุมเครื่องโทรศัพท์เพื่อสวมรอยทำธุรกรรมแทนจากระยะไกล เพื่อโอนเงินออกจากบัญชี โดยอาจเลือกทำธุรกรรมในช่วงเวลาที่ผู้เสียหายไม่ได้ใช้งานโทรศัพท์ ปัจจุบัน มิจฉาชีพมีวิธีหลอกลวงหลายรูปแบบ อาทิ SMS หลอกลวง แก๊งคอลเซ็นเตอร์ และแอปพลิเคชันให้สินเชื่อปลอม เป็นต้น และมีการปรับเปลี่ยนอย่างต่อเนื่อง โดยล่าสุด ใช้การหลอกลวงให้ติดตั้งแอปพลิเคชันปลอมที่แฝงมัลแวร์ ซึ่ง ธปท. ได้ดำเนินการเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา โดยการออกมาตรการต่างๆ ให้สถาบันการเงินต้องปฏิบัติ และร่วมกับกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.), สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ปปง.) และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ เพื่อดำเนินการต่าง ๆ ได้แก่ ปรับปรุงพัฒนาระบบรักษาความปลอดภัยบน Mobile Banking อย่างต่อเนื่อง ปิดกั้นเว็บไซต์หลอกลวง และตัดการเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มิจฉาชีพใช้ควบคุมเครื่องผู้เสียหายจากระยะไกล แก้ไขปัญหา SMS หลอกลวง ที่แอบอ้างชื่อเป็นสถาบันการเงิน จัดให้มีช่องทางการรับแจ้งความออนไลน์ เพื่อให้ประชาชนแจ้งความได้สะดวก และอายัดบัญชีได้รวดเร็วขึ้น ประชาสัมพันธ์สร้างการตระหนักรู้ […]
อ่านเพิ่มเติม »