เปิดแผนกู้ “วิกฤตเศรษฐกิจลาว” หนี้ท่วม กีบไร้ค่า เงินเฟ้อพุ่ง

ลาว ข่าว

เปิดแผนกู้ “วิกฤตเศรษฐกิจลาว” หนี้ท่วม กีบไร้ค่า เงินเฟ้อพุ่ง
สปป.ลาวเงินเฟ้อค่าเงินบาท
  • 📰 Thansettakij
  • ⏱ Reading Time:
  • 33 sec. here
  • 10 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 44%
  • Publisher: 63%

วิเคราะห์สถานการณ์เศรษฐกิจลาวกับความเสี่ยงจาก หนี้สิน เงินเฟ้อ กีบไร้ค่า การพึ่งพาจีน และแนวทางฟื้นฟูเศรษฐกิจที่กำลังเดินหน้าจะสามารถฟื้นฟูเศรษฐกิจได้จริงหรือไม่

กล่าวกับ "ฐานเศรษฐกิจ" ว่า เศรษฐกิจของ ลาว ในช่วงที่ผ่านมาโดยก่อนโควิด 10 ปี เศรษฐกิจ ลาว เติบโตโดยเฉลี่ย 8-9% เเต่มาเริ่มสะดุดช่วงโควิด โดยเฉพาะ รถไฟฟ้า ลาว -จีน ซึ่งเป็นโครงการที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ ลาว

ดร.วิวัฒน์ อธิบายในประเด็นที่ไม่ค่อยถูกพูดถึง คือ ในช่วงโควิดรัฐบาลลาวออกพันธบัตรจำนวนมาก ซึ่งถึงรอบที่จะต้องมีการไถ่ถอน เเต่เมื่อค่าเงินกีบที่ลดลง ซ้ำเติมด้วยเงินเฟ้อ เนื่องจากเกิดสงครามขึ้นซึ่งทำให้ต้นทุนน้ำมันสูงขึ้น เศรษฐกิจอ่อนแอลงทันที อย่างมากมาย ถนน สะพาน และเส้นทางรถไฟฟ้าที่เชื่อมต่อกับจีนกลายเป็นเครื่องมือสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของลาว แต่ในขณะเดียวกัน ความสัมพันธ์นี้ก็ทำให้ลาวต้องเผชิญกับความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น เนื่องจากมีการพึ่งพาจีนมากเกินไป ตั้งแต่โครงการรถไฟฟ้าความเร็วสูง ไปจนถึงการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานหลายๆ ด้าน โครงการเหล่านี้ดูเหมือนจะเป็นโอกาสในการพัฒนา แต่ขณะเดียวกันก็ก่อให้เกิดภาระหนี้สินที่มากขึ้นเช่นกัน...

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

Thansettakij /  🏆 23. in TH

สปป.ลาว เงินเฟ้อ ค่าเงินบาท ค่าเงิน รัฐบาล สปป.ลาว วิกฤตเศรษฐกิจ เงินกีบ หนี้ท่วม

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

'SMEs' หนี้ท่วม สสว.ชี้ธุรกิจรายย่อยหันกู้เงินนอกระบบมากถึง 51%'SMEs' หนี้ท่วม สสว.ชี้ธุรกิจรายย่อยหันกู้เงินนอกระบบมากถึง 51%'SMEs' หนี้ท่วม สสว.ชี้ธุรกิจรายย่อยหันกู้เงินนอกระบบมากถึง 51% หลังสสว. สำรวจสถานการณ์ด้านหนี้สินกิจการของเอสเอ็มอีไตรมาส 2 ปี 2567 พบภาระหนี้สินมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อน
อ่านเพิ่มเติม »

เศรษฐกิจอีสาน น่าห่วง! ขยายตัวต่ำสุดในรอบ 30 ปี หนี้ท่วม-แรงงานน้อย ลาวหนีทะลักเข้าไทย ดีหรือเสียเศรษฐกิจอีสาน น่าห่วง! ขยายตัวต่ำสุดในรอบ 30 ปี หนี้ท่วม-แรงงานน้อย ลาวหนีทะลักเข้าไทย ดีหรือเสียISAN INSIGHT ม.ขอนแก่น เผย สถานการณ์เศรษฐกิจภาคอีสาน พบอยู่ในภาวะ GDP ขยายตัวต่ำที่สุดในรอบ 30 ปี ยอดปิดโรงงานกระทบเลิกจ้าง 600 ตำแหน่ง ประชาชนหนี้ท่วม แรงงานขาด เพราะคนสูงวัยมากขึ้น ขณะ วิกฤติ สปป.
อ่านเพิ่มเติม »

ประชาชนอ่วม!ชักหน้าไม่ถึงหลัง แบกหนี้ครึ่งของรายได้เสี่ยงเลิกจ้างประชาชนอ่วม!ชักหน้าไม่ถึงหลัง แบกหนี้ครึ่งของรายได้เสี่ยงเลิกจ้างสวนดุสิตโพล เผยผลสำรวจสำรวจประชาชนชักหน้าไม่ถึงหลัง กระเป๋าฉีก พบมีหนี้สิน 20-50% ของรายได้ เสี่ยงถูกเลิกจ้างสูง ชี้ปัญหายากจน-หนี้สิน-เลิกจ้าง เป็นปัญหารุนแรง เมื่อวันที่ 21 ก.ค.67 สวนดุสิตโพล มหาวิทยาลัยสวนดุสิต สำรวจความคิดเห็นประชาชนทั่วประเทศ เรื่อง คนไทยกับความยากจน หนี้สิน และการเลิกจ้างงาน ระหว่างวันที่ 15-19 ก.ค.
อ่านเพิ่มเติม »

'สวนดุสิตโพล' ชี้ความยากจน-หนี้สิน-เลิกจ้างงาน ปัญหารุนแรงต้องแก้ไขด่วน'สวนดุสิตโพล' ชี้ความยากจน-หนี้สิน-เลิกจ้างงาน ปัญหารุนแรงต้องแก้ไขด่วน'สวนดุสิตโพล' ชี้ความยากจน-หนี้สิน-เลิกจ้าง ปัญหารุนแรงต้องแก้ไขด่วน ผงะมีหนี้สิน 20-50% ของรายได้ สวนดุสิตโพล มหาวิทยาลัยสวนดุสิต สำรวจความคิดเห็นประชาชนทั่วประเทศ เรื่อง “คนไทยกับความยากจน หนี้สิน และการเลิกจ้างงาน” ระหว่างวันที่ 15-19 กรกฎาคม 2567 กลุ่มตัวอย่างจำนวน 1,146 คน สำรวจผ่านทางออนไลน์และภาคสนาม พบว่า กลุ่มตัวอย่างคิดว่าปัจจุบัน...
อ่านเพิ่มเติม »

ผลสำรวจชี้ คนไทยกระเป๋าฉีกพบมีหนี้สิน 20-50%ของรายได้ แถมเสี่ยงถูกเลิกจ้างสูงผลสำรวจชี้ คนไทยกระเป๋าฉีกพบมีหนี้สิน 20-50%ของรายได้ แถมเสี่ยงถูกเลิกจ้างสูงสวนดุสิตโพล มหาวิทยาลัยสวนดุสิต สำรวจความคิดเห็นประชาชนทั่วประเทศ เรื่อง “คนไทยกับความยากจน หนี้สิน และการเลิกจ้างงาน” ระหว่างวันที่ 15-19 กรกฎาคม 2567 กลุ่มตัวอย่างจำนวน 1,146 คน สำรวจผ่านทางออนไลน์และภาคสนาม
อ่านเพิ่มเติม »

หมดร้อนจัด เปลี่ยนผ่านสู่ “มรสุม” จับตาครึ่งปีหลังเสี่ยง “น้ำท่วม” ภาคเกษตรป่วน ดัน เงินเฟ้อพุ่งหมดร้อนจัด เปลี่ยนผ่านสู่ “มรสุม” จับตาครึ่งปีหลังเสี่ยง “น้ำท่วม” ภาคเกษตรป่วน ดัน เงินเฟ้อพุ่งหมดร้อนจัด เปลี่ยนผ่านสู่ “มรสุม” จับตาครึ่งปีหลังเสี่ยง “น้ำท่วม” ภาคเกษตรป่วน ดัน เงินเฟ้อพุ่ง 2 ปี ไทยสูญเม็ดเงิน 5 หมื่นล้าน
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-05 22:26:21