แม้ว่าสถานการณ์หมอกควันในมาเลเซียจะเริ่มดีขึ้น เมื่อเทียบกับหลายวันก่อน จากอิทธิพลของฝนที่ตกเพิ่มขึ้นในหลายพื้นที่ทั่วประเทศ แต่คำถามถึงการแก้ปัญหาระยะยาวยังคงมีให้เห็นอย่างต่อเนื่อง จะรอพึ่งพิงฟ้าฝนอย่างเดียวคงไม่ไหว แม้ว่ามลพิษจะลดลงแล้วเมื่อเทียบกับช่วงต้นสัปดาห์ แต่การแก้ปัญหาหมอกควันไฟป่าข้ามแดนยังถือว่าเป็นโจทย์ที่อาเซียนตีไม่แตกมานานมากแล้วเป็นเวลาเกือบ 30 ปีมาแล้วที่พอเข้าสู่ช่วงฤดูแล้ง อาเซียนมักจะเจอปัญหาหมอกควันข้ามแดน โดยเฉพาะมาเลเซียและอินโดนีเซียที่มักจะมีปัญหาขัดแย้งกัน โดยฝั่งมาเลเซียระบุว่าหมอกควันเกิดจากไฟป่าที่ในอินโดนีเซียเผาถางป่าเพื่อทำเกษตรกรรม โดยเฉพาะตอนกลางและตอนใต้ของเกาะกาลิมันตัน ขณะที่อินโดนีเซียยืนกรานว่าควันไฟไม่ได้ข้ามพรมแดน หรือการเผาถางป่า เกิดขึ้นในพื้นที่ที่บริษัทจากมาเลเซียเข้าไปมีส่วนร่วมลงทุนเช่นกันแผนที่ระบบจัดการดัชนีมลพิษทางอากาศของมาเลเซีย แสดงให้เห็นสถานการณ์ล่าสุดในมาเลเซียเช้านี้ (5 ต.ค.2566) ที่ยังมีจุดสีเหลืองอยู่เพียงไม่กี่จุด ซึ่งหมายถึงพื้นที่ที่มีค่าดัชนีคุณภาพอากาศในระดับที่ไม่ดีต่อสุขภาพ แต่ยังไม่ถึงขั้นอันตรายร้ายแรง โดยหลงเหลือเพียงในรัฐโจโฮร์ ส่วนที่เหลืออยู่ในเกณฑ์ปกติ แผนที่ระบบจัดการดัชนีมลพิษทางอากาศของมาเลเซียก่อนที่ค่าคุณภาพอากาศจะดีขึ้นได้แบบนี้ ทางการมาเลเซียเริ่มใช้แผนปฏิบัติการรับมือมลพิษมาตั้งแต่ต้นเดือน ก.ย. พร้อมยกระดับการส่งเจ้าหน้าที่ลงพื้นที่ตรวจตราการเผาถางป่า และยังส่งสัญญาณเตรียมมองลู่ทางการทำฝนเทียม เพื่อช่วยบรรเทาสถานการณ์ หากดัชนีมลพิษสูงเกิน 150 ต่อเนื่องนานกว่า 24 ชั่วโมงมาเลเซียเองมีกฎหมายป้องกันเรื่องนี้อยู่แล้ว โดยพระราชบัญญัติคุณภาพอากาศ ปี 1974 กำหนดไว้ว่า ผู้ที่ฝ่าฝืนข้อกำหนดการเผาขยะในที่เปิดโดยไม่มีการควบคุม จะต้องระวังโทษปรับสูงสุด 500,000 ริงกิต หรือประมาณ 3,900,000 บาท หรือจำคุกสูงสุด 5 ปี หรือทั้งจำทั้งปรับ กลไกมาเลเซียรับมือมลพิษขณะที่ช่วงกลางปีที่ผ่านมา กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มาเลเซีย เปิดเผยแผนการผลักดันให้ภาคเอกชนที่ลงทุนด้านเกษตรกรรมในอินโดนีเซีย ให้มีส่วนร่วมเฝ้าระวังปัญหานี้ ผ่านกลไกการกำกับดูแล โดยให้บริษัทที่ทำธุรกิจเหล่านี้ ชี้แจงต่อตลาดหลักทรัพย์ว่าได้ทำกิจกรรมอะไรไปบ้างและมีมาตรการอะไรเพื่อป้องกันปัญหาไฟป่าบ้างเพียงแต่ว
เป็นเวลาเกือบ 30 ปีมาแล้วที่พอเข้าสู่ช่วงฤดูแล้ง อาเซียนมักจะเจอปัญหาหมอกควันข้ามแดน โดยเฉพาะมาเลเซียและอินโดนีเซียที่มักจะมีปัญหาขัดแย้งกัน โดยฝั่งมาเลเซียระบุว่าหมอกควันเกิดจากไฟป่าที่ในอินโดนีเซียเผาถางป่าเพื่อทำเกษตรกรรม โดยเฉพาะตอนกลางและตอนใต้ของเกาะกาลิมันตัน ขณะที่อินโดนีเซียยืนกรานว่าควันไฟไม่ได้ข้ามพรมแดน หรือการเผาถางป่า เกิดขึ้นในพื้นที่ที่บริษัทจากมาเลเซียเข้าไปมีส่วนร่วมลงทุนเช่นกัน
มาเลเซียเองมีกฎหมายป้องกันเรื่องนี้อยู่แล้ว โดยพระราชบัญญัติคุณภาพอากาศ ปี 1974 กำหนดไว้ว่า ผู้ที่ฝ่าฝืนข้อกำหนดการเผาขยะในที่เปิดโดยไม่มีการควบคุม จะต้องระวังโทษปรับสูงสุด 500,000 ริงกิต หรือประมาณ 3,900,000 บาท หรือจำคุกสูงสุด 5 ปี หรือทั้งจำทั้งปรับขณะที่ช่วงกลางปีที่ผ่านมา กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มาเลเซีย เปิดเผยแผนการผลักดันให้ภาคเอกชนที่ลงทุนด้านเกษตรกรรมในอินโดนีเซีย ให้มีส่วนร่วมเฝ้าระวังปัญหานี้ ผ่านกลไกการกำกับดูแล...
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
TikTok ยกธง!ประกาศยุติ อี-คอมเมิร์ซในอินโดฯ เริ่มวันนี้ 4 ต.ค.66บริษัท TikTok อินโดนีเซีย ประกาศยุติบริการอี-คอมเมิร์ซ ในอินโดนีเซียในวันนี้ 4 ต.ค. 66 เพื่อให้เป็นไปตามกฎระเบียบใหม่ของรัฐบาลอินโดนีเซีย
อ่านเพิ่มเติม »
10 เหรียญทองศึกเอเชียนเกมส์ทัพไทยได้จากอะไรบ้าง? ลุ้นคว้าเพิ่มทัพนักกีฬาไทยคว้าเหรียญทองมาครองได้แล้ว 10 เหรียญทอง ในศึกเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 19 ที่ประเทศจีน เรือใบได้มากสุด ขณะที่ยังลุ้นได้เหรียญทองเพิ่มอีก วันนี้ (5 ต.ค.2566) การแข่งขันในมหกรรมกีฬาเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 19 ที่เมืองหางโจว สาธารณรัฐประชาชนจีน เดินทางเข้าช่วงท้ายการแข่งขัน ขณะนี้ประเทศไทยสามารถคว้าเหรียญทองมาได้ถึง 10 เหรียญแล้ว อยู่อันดับ 7 ของตาราง โดยได้มากสุดจากเรือใบ 3 เหรียญทอง ขณะที่เทควันโด 2 เหรียญทอง เซปักตะกร้อ 2 เหรียญทอง ทั้งนี้เหลือการแข่งขันอีก 3 วัน ทัพนักกีฬาไทยยังมีลุ้นเหรียญทองเพิ่มจากกีฬาอีกหลายประเภท สำหรับ 10 เหรียญทองที่ทัพนักกีฬาไทยสามารถคว้ามาครองได้แล้วประกอบไปด้วย พาณิภัค วงศ์พัฒนกิจ นักกีฬาเทควันโดเหรียญทองที่ 1วันที่ 25 ก.ย.2566 'เทนนิส' พาณิภัค วงศ์พัฒนกิจ นักกีฬาเทควันโด ในรุ่น 49 กก.หญิง ชนะกั๊วจิง จากเจ้าภาพจีน 2-1 ยก คว้าแชมป์สมัยที่ 2 ไปครอง และคว้าเหรียญทองแรกให้ทัพนักกีฬาไทย ในการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ 2022 บัลลังก์ ทับทิมแดง นักกีฬาเทควันโด เหรียญทองที่ 2วันที่ 26 ก.ย.2566 บัลลังก์ ทับทิมแดง ดาวรุ่งวัย 18 ปี นักกีฬาเทควันโดชาย รุ่น 63 กิโลกรัม ดีกรีรองแชมป์โลก ปี 2023 และรองแชมป์เยาวชนโลก ปี 2022 ที่เอาชนะ อาลิเรซา ฮูสเซนพัวร์ นักกีฬาจากอิหร่าน คว้าเหรียญทองที่ 2 ให้กับทัพนักกีฬาทีมชาติไทยได้สำเร็จการคว้าทองครั้งนี้ ของ บัลลังก์ ถือเป็นการคว้าเหรียญทอง ในเทควันโด ประเภทชายครั้งแรก ในรอบ 13 ปี หลัง ทีมชายสามารถคว้าเหรียญทองเอเชียนเกมส์ ครั้งล่าสุดในปี 2010 จาก 'แมกซ์' ชัชวาล ขาวละออ' ม.ล.เวฆา ภาณุพันธ์ นักแล่นเรือใบรุ่นเยาวชนเหรียญทองที่ 3วันที่ 26 ก.ย.2566 ทีมชาติไทย ได้จากเรือใบ โดย ม.ล.เวฆา ภาณุพันธ์ ในประเภท ILCA 4 ชาย มีแต้มเสีย 13 คะแนน ทิ้งห่างนักกีฬาจากสิงคโปร์ ในลำดับที่ 2 ซึ่งมีแต้มเสีย 21 คะแนน ส่วนลำดับที่ 3 เป็น มาเลเซีย นพภัสสร ขุนบุญจันทร์เหรียญทองที่ 4วันที่ 26 ก.ย.2566 จากการแข่งขันเรือใบ ประเภท ILCA 4 นพภัสสร ขุนบุญจันทร์ วัย 17 ปี ที่แข่งขันครบ 12 เรซ มีแต้มเสีย 16 คะแนน คว้าเหรีญทองไปครอง อันดับ 2 อินเดีย และ อันดับ 3 สิงคโปร์เหรียญทองที่ 5วันที่ 26 ก.ย.2566 จากประเภทวินด์เซิร์ฟ RSX โดย 'ดาว' ศิริพร แก้วดวงงาม ที่เบียดเข้าที่ 1 แซงฮ่องกง ในสองเรซสุดท้าย และประเภทชาย ณัฐพงษ์ โพธินพรัตน์ รุ่นอาร์เอสเอ็กซ์
อ่านเพิ่มเติม »
'ภูมิธรรม' เชื่อ 'ทักษิณ-เฉลิม' ไร้รอยร้าว เตรียมหาเวลาพูดคุย ปัดปัญหาต่างจาก'จตุพร' ย้ำชัดเสร็จนาไม่ฆ่าโคถึก มีแต่จะทำงานให้ดีขึ้นวันที่ 5 ต.ค.2566 ที่ทำเนียบรัฐบาล นายภูมิธรรม เวชยชัย รองนายกรัฐมนตรีและรมว.พาณิชย์ ในฐานะรักษาการรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย (พท.) กล่าวถึงกรณีที่มีข่าวว่าร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง ส.ส.
อ่านเพิ่มเติม »