ธุรกิจ SME ได้รับประโยชน์จากออนไลน์ ทั้งด้านการเติบโตและการจัดการที่มีประสิทธิภาพ ธุรกิจขนส่ง คลังสินค้า และบรรจุภัณฑ์เป็นตัวอย่างที่เติบโตพร้อมค้าปลีกดิจิทัล แต่ต้องเข้าใจการเสียภาษีอย่างถูกต้องเพื่อเสริมความมั่นคง
ธุรกิจคลังสินค้า ถือเป็นส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ที่มีความสำคัญอย่างมาก เนื่องจากเป็นจุดจัดเก็บสินค้าเพื่อรอการจัดส่งไปยังผู้บริโภคหรือจุดหมายปลายทางอื่นๆ การเสีย ภาษี ของธุรกิจคลังสินค้าจะมีลักษณะคล้ายกับธุรกิจขนส่ง โดยมี ภาษี ที่เกี่ยวข้องดังนี้ - หากธุรกิจคลังสินค้าจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล ต้องเสีย ภาษี เงินได้นิติบุคคลตามกำไรสุทธิของธุรกิจ โดยอัตรา ภาษี SME ในประเทศไทยเป็นดังนี้ - กำไรสุทธิตั้งแต่ 300,001 - 3,000,000 บาท เสีย ภาษี ในอัตรา 15% 2.2 ภาษี มูลค่าเพิ่ม หากธุรกิจมีรายได้เกิน 1.
2.3 ภาษีหัก ณ ที่จ่าย การชำระเงินให้กับผู้ให้บริการภายนอก เช่น การจ้างบริษัทจัดการคลังสินค้า หรืองานบริการต่างๆ นิติบุคคลต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย ซึ่งอัตราการหักจะขึ้นอยู่กับลักษณะของบริการ 2.4 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หากเจ้าของกิจการคลังสินค้าเป็นบุคคลธรรมดา ธุรกิจยังไม่ได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล ต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา โดยอิงจากรายได้ทั้งปี
2.5 ภาษีป้าย หากมีการใช้ป้ายโฆษณาสำหรับธุรกิจ จำเป็นต้องเสียภาษีป้ายตามที่กฎหมายกำหนด โดยคิดตามขนาดและเนื้อหาของป้าย ธุรกิจบรรจุภัณฑ์เป็นอีกหนึ่งธุรกิจที่ขยายตัวควบคู่ไปกับการเติบโตของค้าปลีกออนไลน์ โดยการดำเนินธุรกิจบรรจุภัณฑ์จะต้องปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ และภาษีที่เกี่ยวข้องหลายประการ ธุรกิจประเภทนี้มีภาษีที่ต้องคำนึงถึงดังนี้ - ธุรกิจบรรจุภัณฑ์ที่มีรายได้เกิน 1.
- ธุรกิจจะต้องยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษีมูลค่าเพิ่มทุกเดือน แม้ว่าเดือนนั้นๆ จะไม่มีรายรับก็ตามหากธุรกิจบรรจุภัณฑ์ SME จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล และมีกำไรสุทธิเกิน 3,000,001 บาท อัตราภาษีที่ต้องเสียสูงสุดอยู่ที่ 20% และธุรกิจจะต้องยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้ปีละ 2 ครั้ง เมื่อธุรกิจจ่ายเงินให้ผู้ให้บริการภายนอก เช่น ค่าเช่าพื้นที่ ค่าโฆษณา หรือค่าบริการต่างๆ นิติบุคคลจะต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย และนำส่งกรมสรรพากรในอัตราที่กำหนด เช่น 3% หรือ 5% ตามประเภทของการจ่ายเงิน3.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
'อาชีพอิสระไม่ควรต้องเสี่ยง” แอกซ่ามอบความอุ่นใจให้ทุกธุรกิจเดินหน้าอย่างมั่นใจ“อาชีพอิสระไม่ควรต้องเสี่ยง” แอกซ่ามอบความอุ่นใจให้ทุกธุรกิจเดินหน้าอย่างมั่นใจ เส้นทางธุรกิจ SME เพื่อเติบโตสู่ความสำเร็จ ล้วนเต็มไปด้วยความท้าทายรอบด้าน ในยุคที่ใครๆ ก็อยากเป็นเจ้าของธุรกิจ แต่หลายคนอาจมองข้ามความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นแบบไม่รู้ตัว แอกซ่าจึงชวน SME ไทยยุคใหม่สร้างความอุ่นใจ เปิดฮาวทู วางแผนธุรกิจอย่างไรให้ป้องกันความเสี่ยง...
อ่านเพิ่มเติม »
กรุงไทยออกเงินฝากออมทรัพย์พิเศษดอกเบี้ยสูงสุด 1% ต่อปีธนาคารกรุงไทย ออกเงินฝากออมทรัพย์พิเศษ SME Smart Account สนับสนุนธุรกิจ SME ที่เป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ ดอกเบี้ยสูงสุด 1% ต่อปี
อ่านเพิ่มเติม »
กระทรวงอุตฯ เติมกองทุนSME เดินหน้า 2 โครงการ 10 ล้านบาทกระทรวงอุตสาหกรรม เติมกองทุนพัฒนา SME อัดฉีด 10 ล้านบาท เดินหน้า 2 โครงการสำคัญ มุ่งพัฒนา SME ไทยกว่า 200 ราย สู่ยุคดิจิทัลและความยั่งยืน
อ่านเพิ่มเติม »
ก.อุตฯ ติดปีกเอสเอ็มอีกว่า 200 ราย เสริมทักษะ เพิ่มขีดแข่งขัน เน้นดิจิทัล-ความยั่งยืนกระทรวงอุตสาหกรรมลุยโครงการพัฒนา SME ภายใต้กองทุนพัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ เดินหน้าเต็มสูบหนุนเอสเอ็มอีด้วยโครงการพัฒนาธุรกิจดิจิทัลสู่การเปลี่ยนแปลงวิถีใหม่ (Digital Transformation) และโครงการยกระดับประสิทธิภาพการผลิตอย่างยั่งยืน (Sustainable Productivity) ด้วยการลดค่าใช้จ่ายพลังงาน เพิ่มรายได้ ขยายโอกาสการค้าของ SME สู่ตลาดสากล...
อ่านเพิ่มเติม »
SME D Bank ช่วยเอสเอ็มอีอุดรอยรั่วสต๊อกจม ลดภาระธุรกิจกว่า 300 ล้าน เพิ่มรายได้ทะลุ 270 ล้านดันเติบโตยั่งยืนSME D Bank เผยความสำเร็จ เสริมแกร่งผู้ประกอบการเอสเอ็มอี จำนวน 622 ราย แก้ปมต้นทุนสต๊อกจม ลดภาระธุรกิจกว่า 300 ล้านบาท และเพิ่มรายได้กว่า 270 ล้านบาท ผ่าน “โครงการอุดรอยรั่วเพิ่มรายได้ SME” ที่จัดต่อเนื่อง 9 ครั้งใน 9 จังหวัด ตั้งแต่เดือน มี.ค.-พ.ย.
อ่านเพิ่มเติม »
กรุงศรี เปิดตัว Krungsri SME Sustainability Businesses และ Krungsri SME for PPAกรุงศรี เสริมทัพกลุ่มผลิตภัณฑ์สินเชื่อธุรกิจเพื่อความยั่งยืน ปล่อย 2 ผลิตภัณฑ์ใหม่บุกตลาด เปิดตัว Krungsri SME Sustainability Businesses และ Krungsri SME for PPA ชูดอกเบี้ย 3.5% ต่อปี 2 ปีแรก
อ่านเพิ่มเติม »