'กระทรวงพลังงาน' ระบุ 3 เหตุผลหลัก ช่วยทำให้ 'ค่าไฟฟ้า' งวดที่ 3 เดือน ก.ย.-ธ.ค. 2566 ลดลงถึง 70 สตางค์ต่อหน่วย หวังรัฐบาลใหม่เร่งแผน PDP เคลื่อนประเทศสู่การเปลี่ยนผ่านพลังงานแห่งอนาคต อ่านต่อ: กรุงเทพธุรกิจ กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น โดยกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ และ ปตท.สผ. รายงานว่าอยู่ระหว่างเพิ่มกำลังผลิตแหล่ง G1/61 จะเพิ่มเป็น 500 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน ในเดือน ก.ย.นี้ และต้นปี 2567 จะเพิ่มกำลังผลิตให้ได้เป็น 800 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน โดยราคา"เมื่อกำลังผลิตก๊าซในอ่าวไทยเพิ่มมากขึ้น การนำเข้าก๊าซ LNG คาดว่าจะลดลงจากที่ ปตท.
70 บาทต่อหน่วย มาอยู่ที่ 4 บาทต่อหน่วยทันทีในงวดสิ้นปี 2566 นี้ เป็นสิ่งที่สามารถเจรจาได้ แต่ต้องใช้เวลาและความพยายามพอสมควร ซึ่งต้นทุนค่า AP อยู่ในส่วนของต้นทุนค่าไฟฐาน มีการใช้มาตั้งแต่ปี 2537 แล้ว คิดเป็นสัดส่วนเพียง 10 สตางค์ต่อหน่วยเท่านั้น ไม่มากเท่ากับต้นทุน LNG ดังนั้น หากบริหารจัดการ LNG ดี จะสามารถลดลงได้ 50-60 สตางค์อยู่แล้ว"กำลังอยู่ระหว่างการเปลี่ยนผ่านไปสู่พลังงานสะอาด จึงควรให้ความสำคัญกับการปรับโครงสร้างการตลาดพลังงานให้สมดุลและสอดรับกัน หรือพัฒนาเพื่อตอบรับความต้องการต่าง...
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
3 ปัจจัยหนุนค่าไฟงวด ก.ย.-ธ.ค.66 ลดเหลือ 4 บาทต่อหน่วยกระทรวงพลังงาน เผย 3 ปัจจัย หนุนค่าไฟฟ้าเอฟที งวดที่ 3 เดือน ก.ย.-ธ.ค.66 ลดลง 70 สตางค์ เหลือ 4 บาทต่อหน่วย กระทรวงพลังงาน ค่าไฟฟ้าเอฟที ราคาพลังงานตลาดโลก เพิ่มกำลังการผลิต ก๊าซธรรมชาติ แผนPDP newgenbusiness
อ่านเพิ่มเติม »
ราคาทอง ราคาทองวันนี้ 27 พ.ค. 2566 เปิดตลาดเช้าวันเสาร์ ปรับลด 50 บาทราคาทองวันนี้ล่าสุด เปิดตลาดเช้าวันเสาร์ที่ 27 พ.ค. 66 ปรับลด 50 บาท สำหรับราคา 'ทองคำแท่ง' ขายออกบาทละ 32,100 บาท ส่วนราคา 'ทองรูปพรรณ' ขายออกบาทละ 32,600 บาท
อ่านเพิ่มเติม »
อัยการฟ้อง มัมดิว-หนูรัตน์ คดีแต่งตัวหมิ่นเบื้องสูง ก่อนให้ประกัน ห้ามมีพฤติกรรมซ้ำอัยการฟ้อง มัมดิวกับพวก แต่งตัวโฆษณาหมิ่นเบื้องสูง ก่อนให้ประกันคนละ 90,000 บาท กำหนดเงื่อนไข ห้ามมีพฤติกรรมซ้ำ ร่วมชุมนุม ศาลนัดตรวจหลักฐาน 24 ก.ค.นี้
อ่านเพิ่มเติม »
KBANK ให้กรอบบาทสัปดาห์หน้า 34.30-34.90 จับตาผลประชุมกนง.-ตัวเลขส่งออกไทย : อินโฟเควสท์ธนาคารกสิกรไทย (KBANK) มองกรอบการเคลื่อนไหวของค่าเงินบาทสัปดาห์หน้า (29 พ.ค.-2 มิ.ย.) ที่ระดับ 34.30-34.90 บาท/ดอลลาร์ จากบาทปิดตลาดในวันศุกร์ที่ 26 พ.ค. 66 ที่ระดับ 34.67 บาท/ดอลลาร์ โดยตลอดทั้งสัปดาห์ที่ผ่านมาเงินบาททยอยอ่อนค่าลงสอดคล้องกับสกุลเงินในภูมิภาคและสถานะขายสุทธิหุ้นและพันธบัตรไทยของนักลงทุนต่างชาติ ขณะที่ตลาดยังคงติดตามสถานการณ์การเมืองของไทยอย่างใกล้ชิด นอกจากนี้เงินดอลลาร์ฯ ขยับแข็งค่าขึ้นตามการปรับขึ้นของบอนด์ยีลด์สหรัฐฯ และยังมีแรงหนุนจากถ้อยแถลงของเจ้าหน้าที่ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) และข้อมูลเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่ดีกว่าที่คาด ซึ่งกระตุ้นให้ตลาดบางส่วนกลับมาประเมินโอกาสความเป็นไปได้ของการปรับขึ้นดอกเบี้ยสหรัฐฯ ในเดือนมิ.ย.ใหม่อีกครั้ง แม้เสียงส่วนใหญ่จะมองว่า เฟดน่าจะคงอัตราดอกเบี้ยไว้ที่ระดับเดิมก็ตาม ในสัปดาห์หน้าปัจจัยสำคัญที่ต้องติดตาม ได้แก่ ผลการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ในวันที่ 31 พ.ค. สถานการณ์การเมืองในประเทศ ตัวเลขการส่งออก/รายงานเศรษฐกิจการเงินเดือนเม.ย. ของไทย ทิศทางเงินทุนต่างชาติ และผลการเจรจาปรับเพิ่มเพดานหนี้ของสหรัฐฯ ส่วนตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่สำคัญ ได้แก่ ตัวเลขการจ้างงานนอกภาคเกษตร อัตราการว่างงาน ตัวเลขจ้างงานภาคเอกชนของ ADP ดัชนี PMI/ISM ภาคการผลิต ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคเดือนพ.ค. ข้อมูล JOLTS เดือนเม.ย. จำนวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานรายสัปดาห์ […]
อ่านเพิ่มเติม »