เนคเทค พัฒนาเทคโนโลยีระบุตัวตนบุคคลที่ไม่มีเอกสารประจำตัวในประเทศไทย ใช้ AI จดจำลายม่านตา และใบหน้า เข้าถึงบริการสาธารณสุข ลดความซ้ำซ้อนข้อมูล นำร่อง 5 จังหวัด
นายแพทย์ธเรศ กรัษนัยรวิวงค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าวว่า การระบาดของโรคโควิด 19 ที่ผ่านมา กรมควบคุมโรคได้เรียนรู้และเห็นการพัฒนามาอย่างต่อเนื่องภายใต้ภารกิจการป้องกันควบคุมโรคในกลุ่มประชากรข้ามชาติ โดยเฉพาะกลุ่มที่ไม่มีเอกสารระบุตัวตน ปัญหาที่พบคือ มีความซ้ำซ้อนของข้อมูลที่ปรากกฏในเอกสารประวัติการได้รับวัคซีน อันจะส่งผลต่อความครอบคุลมและการดูแลสุขภาพของกลุ่มประชากรดังกล่าว
กรมควบคุมโรค ได้สานต่อความร่วมมือต่อเนื่องกับพันธมิตร เพื่อขยายผลการดำเนินงานจากเดิม โดยมุ่งพัฒนาในการใช้เทคโนโลยีการสแกนม่านตาที่มีความเที่ยงตรงมากขึ้น กรมควบคุมโรคและหน่วยงานภาคีเครือข่ายจะดำเนินการ ระยะแรก ใน 5 จังหวัด ได้แก่ สมุทรสาคร ชลบุรี ตาก ประจวบคีรีขันธ์ และกรุงเทพมหานคร บุคคลผู้ไม่มีเอกสารระบุตัวตนเหล่านี้เป็นกลุ่มหนึ่งที่เข้าถึงบริการด้านสาธารณสุขได้น้อย ส่งผลให้การควบคุมและป้องกันโรคทำได้ยากและอาจมีผลกระทบต่อประชาชนไทย เมื่อเกิดภัยพิบัติหรือโรคระบาดมักจะมีผู้ได้รับผลกระทบจำนวนมาก บุคคลกลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่ไม่มีชื่อหรือข้อมูลในฐานข้อมูล ทำให้ไม่ได้รับความช่วยเหลืออย่างทั่วถึง
ด้าน นายชัย วุฒิวิวัฒน์ชัย ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ปฏิบัติการแทนผู้อำนวยการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ กล่าวว่า ในการดำเนินงานครั้งนี้ เนคเทค สวทช.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
ข่าวนี้จริงไหม ห้ามโทรศัพท์ขณะเปิดเตาแก๊สเสี่ยงระเบิด ?ทีมงานข่าวนี้จริงไหม tnnthailand พาไปคลายข้อสงสัย ไขคำตอบกับ ดร.กมล เอื้อชินกุล ผู้จัดการสถาบันประเมินและรับรองเทคโนโลยีดิจิทัล (เนคเทค สวทช.)ดร.กมล เปิดเผยว่า ข้อมูลการห้ามใช้โทร
อ่านเพิ่มเติม »
'Doctor At Home' แพลตฟอร์มสุขภาพใหม่! ใช้ AI ประเมินอาการโรคเบื้องต้นรัฐ เอกชน ผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์จับมือพัฒนาแพลตฟอร์ม “Doctor at Home” ใช้ AI ช่วยประชาชนประเมินโรคเบื้องต้นด้วยตนเอง ก่อนพบแพทย์ออนไลน์พร้อมส่งยาถึงบ้านตามสิทธิบัตรทองน.ส.ไตรศุลี
อ่านเพิ่มเติม »
รัฐ-เอกชน จับมือพัฒนาแพลตฟอร์ม “Doctor at Home”รัฐ ผนึก เอกชน ผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์ พัฒนาแพลตฟอร์ม “Doctor at Home” ใช้ AI ช่วยประชาชนประเมินโรคเบื้องต้นด้วยตนเอง ก่อนพบแพทย์ออนไลน์พร้อมส่งยาถึงบ้านตามสิทธิบัตรทอง ตอบโจทย์ลดแออัดในรพ. หนุนระบบสาธารณสุขภาพไทยดีขึ้น
อ่านเพิ่มเติม »
'รัฐ-เอกชน' ลุยพัฒนาแพลตฟอร์ม 'Doctor at Home' ใช้ AI ประเมินโรคเบื้องต้นรัฐ เอกชน ผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์จับมือพัฒนาแพลตฟอร์ม “Doctor at Home” ใช้ AI ช่วยประชาชนประเมินโรคเบื้องต้นด้วยตนเอง ก่อนพบแพทย์ออนไลน์พร้อมส่งยาถึงบ้านตามสิทธิบัตรทอง ตอบโจทย์ลดแออัดในโรงพยาบาล หนุนระบบสาธารณสุขภาพรวมดีขึ้น วันที่ 23 ก.ค.66 น.ส.ไตรศุลี ไตรสรณกุล รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี กล่าวว่า จากที่รัฐบาลได้วางแนวนโยบายให้ทุกหน่วยงานนำระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาสนับสนุนให้ประชาชนได้รับความสะดวกในการเข้ารับบริการต่างๆ ทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขก็ได้มีบริการผ่านแพลตฟอร์มใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง ล่าสุด หน่วยงานรัฐ ภาคเอกชน และผู้เชี่ยวชาญด้านการแพทย์ได้ร่วมกันพัฒนา แพลตฟอร์มออนไลน์ที่เรียกว
อ่านเพิ่มเติม »
รัฐผนึกเอกชนพัฒนา 'Doctor at Home' ใช้ AI ช่วยประชาชนประเมินโรคเบื้องต้นด้วยตนเองรัฐ เอกชน ผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์จับมือพัฒนาแพลตฟอร์ม “Doctor at Home” ใช้ AI ช่วยประชาชนประเมินโรคเบื้องต้นด้วยตนเอง ก่อนพบแพทย์ออนไลน์พร้อมส่งยาถึงบ้านตามสิทธิบัตรทอง ตอบโจทย์ลดแออัดในโรงพยาบาล หนุนระบบสาธารณสุขภาพรวมดีขึ้น
อ่านเพิ่มเติม »
กทม.ใช้ AI คุมสัญญาณไฟจราจร นำร่อง 3 เส้นทางกทม.นำเทคโนโลยีควบคุมสัญญาณไฟจราจรนำร่องใน 3 เส้นทางที่มีการจราจรติดขัด ก็มีถนนรัชดาภิเษก ประเสริฐมนูกิจ ราชพฤกษ์ ด้วยการปรับสัญญาณไฟจราจรให้สอดคล้องกับปริมาณจราจรแต่ละช่วงเวลา
อ่านเพิ่มเติม »