เตรียมแผน รับมือน้ำหลาก-ภัยแล้ง พื้นที่ภาคเหนือ-อีสาน น้ำท่วม เอลนีโญ ภัยแล้ง สมศักดิ์ คมทั่วไป คมชัดลึก
โดยต้องใช้เวลาอีกหลายปีกว่าจะสร้างแล้วเสร็จ จึงร่วมกับพี่น้องประชาชนในชุมชน พร้อมใจกันสร้างฝายแกนดินซีเมนต์ตามศาสตร์พระราชา เป็นการชะลอน้ำไม่ให้ไปท่วมในช่วงฤดูฝน แล้วก็ช่วยกักเก็บน้ำในการที่จะใช้อุปโภคบริโภค ทำการเกษตรในฤดูแล้ง
นายคเณศ กล่าวว่า จากการสร้างฝายแกนดินซีเมนต์ ที่ผ่านมาได้ทำประโยชน์ในเรื่องการบริหารจัดการน้ำอย่างเพียงพอในพื้นที่และเป็นนวัตกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เราได้แก้ไขปัญหา โดยทำฝาย 2 จุด สามารถชะลอน้ำได้ ไม่ต่ำกว่า 80,000 กว่าลูกบาศก์เมตร ซึ่งจะเป็นการแก้ไขปัญหาในส่วนของการบริหารจัดการน้ำในชุมชนได้อีกส่วนหนึ่ง
ขณะที่นายสมศักดิ์ เปิดเผยว่า การสร้างฝายแกนดินซีเมนต์ ถือเป็นเรื่องที่ดีมาก เป็นการช่วยเหลือตนเอง งบประมาณอาจมีไม่มากแต่ประชาชนก็ร่วมแรงร่วมใจ ซึ่งจากที่เคยแห้งแล้งกลับมามีน้ำทำการเกษตรได้ ถือเป็นสิ่งที่น่ายกย่อง ถือเป็นหนึ่งจุดที่รักษาน้ำจากต้นน้ำได้ แม้เวลานี้จะยังสร้างอ่างเก็บน้ำไม่เสร็จ เพื่อให้ประเทศของเรามีแหล่งน้ำชลประทาน 50 ล้านไร่ เรื่องนี้จะเดินหน้าต่อไปให้ดีที่สุด เพราะต้องไปดูงบประมาณของประเทศว่าจะวางแผนอย่างไรต่อไป แต่ขอให้เชื่อมั่นว่า พยายามศึกษาเรื่องน้ำ...
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
รัฐบาลสอบตก 'การบริหารจัดการน้ำ' เสี่ยง 'ภัยแล้ง' ขายฝันแก้วิกฤตน้ำนโยบาย 'การบริหารจัดการน้ำ' ของรัฐบาลปัจจุบันยังไม่ตอบโจทย์การแก้ปัญหา 'ภัยแล้ง' และค่อนข้างล้มเหลวหลายอย่าง เนื่องจากหลายปัญหายังไม่ถูกสะสางให้สมกับคำใหญ่ที่ขายฝัน เมื่อปี 2557 ที่บอกว่าจะ ‘ปฏิรูปการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ’ ประเทศไทยจึงมีความเสียง 'วิกฤตน้ำ'
อ่านเพิ่มเติม »
กทม.เปิดแผนรับมือน้ำท่วม -ภัยแล้ง ปี 2566กรุงเทพมหานคร กางแผนรับมือน้ำท่วม-ภัยแล้ง พร้อมรายงานสถานการณ์-การแก้ไขปัญหาจุดเสี่ยงน้ำท่วมกรุงในแต่ละจุดดำเนินการถึงขั้นไหนแล้ว น้ำท่วม ภัยแล้ง ฐานเศรษฐกิจ
อ่านเพิ่มเติม »
วิจัยชี้ ‘เอลนีโญ’ กระทบไทยปานกลาง ส่อ ‘ภัยแล้ง’ ลากยาว 3 - 5 ปีไทยเข้าสู่ ‘เอลนีโญ’ ปานกลาง คาดยาวนาน 3-5 ปี สกสว. เปิดเวทีรับมือเอลนีโญทำพิษน้ำแล้งยาว นักวิจัยแนะจัดการเชิงรุกลดความเสี่ยงเชิงระบบ อ่านต่อ: กรุงเทพธุรกิจ กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
อ่านเพิ่มเติม »