เช็กเส้นทางพายุโซนร้อน 'ขนุน' กำลังเคลื่อนตัว คาดว่าทวีกำลังแรงขึ้นได้อีก พายุโซนร้อน พายุโซนร้อนขนุน KHANUN มหาสมุทรแปซิฟิก ข่าวช่อง8 ข่าวช่อง8ที่นี่ของจริง ช่อง8กดเลข27
"กรมอุตุนิยมวิทยา" เผยเส้นทางของพายุโซนร้อน "ขนุน" หลังทวีกำลังเพิ่มมากขึ้นในมหาสมุทรแปซิฟิก คาดว่าจะแรงขึ้นได้อีก วันที่ 30 ก.ค. 2566 เพจเฟซบุ๊ก"กรมอุตุนิยมวิทยา" โพสต์ข้อความระบุว่า อัปเดตเส้นทางพายุโซนร้อนกำลังแรง"ขนุน "เวลา 04.00น.
โดยระบุว่า ร่องมรสุมเลื่อนลงมาพาดผ่านภาคเหนือตอนบนและประเทศลาวตอนบน เข้าสู่หย่อมความกดอากาศต่ำบริเวณอ่าวตังเกี๋ย ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้กำลังค่อนข้างแรงพัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทย ลักษณะเช่นนี้ทำให้ประเทศไทยมีฝนเพิ่มขึ้นและมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่งบริเวณภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้
ขอให้ประชาชนระวังอันตรายจากฝนตกหนักถึงหนักมากและฝนที่ตกสะสมซึ่งอาจทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลันและน้ำป่าไหลหลาก โดยเฉพาะพื้นที่ลาดเชิงเขาใกล้ทางน้ำไหลผ่านและพื้นที่ลุ่ม รวมทั้งเพิ่มความระมัดระวังในการสัญจรผ่านบริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองไว้ด้วย
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
อัปเดตเส้นทาง พายุโซนร้อน 'ขนุน' พายุลูกที่ 6 ไทยรับผลกระทบหรือไม่กรมอุตุนิยมวิทยา อัปเดตเส้นทาง พายุโซนร้อน 'ขนุน' พายุลูกที่ 6 ไทยรับผลกระทบหรือไม่ พายุ ขนุน พายุขนุน พายุโซนร้อน พายุโซนร้อนขนุน กรมอุตุนิยมวิทยา คมทั่วไป คมชัดลึก
อ่านเพิ่มเติม »
อุตุฯ เผยช่วง 29 ก.ค.- 3 ส.ค. ไทยฝนเพิ่มขึ้น จับตาพายุ “ขนุน”กรมอุตุฯ คาดตั้งแต่ 29 ก.ค.-3 ส.ค. ประเทศไทยมีฝนเพิ่มขึ้น ตกหนักบางแห่งด้านตะวันออกของภาคเหนือและภาคอีสานตอนบนที่ใกล้หย่อมความกดอากาศต่ำที่ปกคลุมทางตอนบนของเวียดนาม พร้อมติดตามพายุโซนร้อนลูกใหม่ “ขนุน” ในมหาสมุทรแปซิฟิก คาดจะทวีกำลังแรงขึ้นอีก
อ่านเพิ่มเติม »
กรมอุตุฯ เตือน 28 จ. รับมือฝนตกหนักจากร่องมรสุม พร้อมจับตาพายุ “ขนุน”กรมอุตุ เตือนฝนตกหนักจากร่องมรสุม กระทบ 28 จังหวัด จับตาพายุลูกใหม่ พายุโซนร้อนกำลังแรง ขนุน ในมหาสมุทรแปซิฟิก วันนี้ (30 ก.ค.66) กรมอุตุนิยมวิทยา วิเคราะห์แผนที่อากาศผิวพื้น เวลา 01.00น. วันนี้ภาพถ่ายดาวเทียม และลมที่ระดับ…
อ่านเพิ่มเติม »
ญี่ปุ่นและฟิลิปปินส์เตรียมรับมือพายุโซนร้อน'ขนุน'ทวีกำลังแรงเป็นพายุไต้ฝุ่น : อินโฟเควสท์สำนักงานอุตุนิยมวิทยาของฟิลิปปินส์เตือนว่า ในพื้นที่แถบภูเขาของประเทศจะเผชิญกับสภาพฝนที่ตกลงมาอย่างหนัก น้ำท่วม และดินถล่ม เนื่องจากพายุโซนร้อน”ขนุน”คาดว่า จะทวีกำลังแรงขึ้นจนเป็นพายุไต้ฝุ่น พายุโซนร้อนขนุนกำลังเคลื่อนตัวเข้าใกล้กับพื้นที่ทางตะวันออกของฟิลิปปินส์ด้วยศูนย์กลางกระแสลมแรงในวงกว้างถึง 1,400 กิโลเมตร และคาดว่า พายุโซนร้อนลูกนี้จะมีกำลังแรงขึ้นจนเป็นพายุไต้ฝุ่นในช่วงวันที่ 31 ก.ค.เป็นต้นไปรวมทั้งเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนตัวไปยังประเทศญี่ปุ่น ทั้งนี้ พายุไต้ฝุ่นลูกใหม่ที่คาดว่าจะก่อตัวขึ้นมีแนวโน้มว่า จะพัดเข้าเกาะโอกินาว่าภายในวันที่ 1 ส.ค. และคาดว่า จะส่งผลให้พื้นที่ส่วนใหญ่ของเกาะต้องเผชิญกับพายุไต้ฝุ่นที่มีกำลังแรงลูกนี้ นอกจากนี้ ยังมีการเตือนถึงอันตรายจากคลื่นสูงและสตอร์มเซิร์จที่อาจจะเกิดขึ้นด้วยเช่นกัน โดย สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (30 ก.ค. 66) Facebook iconFacebookTwitter iconTwitterLINE iconLine
อ่านเพิ่มเติม »
ตามมาติดๆ กรมอุตุจับตาพายุโซนร้อน 'ขนุน' ก่อตัวบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกนายสมควร ต้นจาน ผู้อำนวยการส่วนพยากรณ์อากาศกลาง กองพยากรณ์อากาศ กรมอุตุนิยมวิทยา โพสต์เฟซบุ๊กเปิดเผยภาพกราฟิกเส้นทางพายุลูกใหม่ โดยระบุว่า วิเคราะห์แผนที่อากาศผิวพื้น ภาพถ่ายดาวเทียม
อ่านเพิ่มเติม »
ญี่ปุ่นและฟิลิปปินส์เตรียมรับมือพายุโซนร้อน'ขนุน'ทวีกำลังแรงเป็นพายุไต้ฝุ่น : อินโฟเควสท์สำนักงานอุตุนิยมวิทยาของฟิลิปปินส์เตือนว่า ในพื้นที่แถบภูเขาของประเทศจะเผชิญกับสภาพฝนที่ตกลงมาอย่างหนัก น้ำท่วม และดินถล่ม เนื่องจากพายุโซนร้อน”ขนุน”คาดว่า จะทวีกำลังแรงขึ้นจนเป็นพายุไต้ฝุ่น พายุโซนร้อนขนุนกำลังเคลื่อนตัวเข้าใกล้กับพื้นที่ทางตะวันออกของฟิลิปปินส์ด้วยศูนย์กลางกระแสลมแรงในวงกว้างถึง 1,400 กิโลเมตร และคาดว่า พายุโซนร้อนลูกนี้จะมีกำลังแรงขึ้นจนเป็นพายุไต้ฝุ่นในช่วงวันที่ 31 ก.ค.เป็นต้นไปรวมทั้งเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนตัวไปยังประเทศญี่ปุ่น ทั้งนี้ พายุไต้ฝุ่นลูกใหม่ที่คาดว่าจะก่อตัวขึ้นมีแนวโน้มว่า จะพัดเข้าเกาะโอกินาว่าภายในวันที่ 1 ส.ค. และคาดว่า จะส่งผลให้พื้นที่ส่วนใหญ่ของเกาะต้องเผชิญกับพายุไต้ฝุ่นที่มีกำลังแรงลูกนี้ นอกจากนี้ ยังมีการเตือนถึงอันตรายจากคลื่นสูงและสตอร์มเซิร์จที่อาจจะเกิดขึ้นด้วยเช่นกัน โดย สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (30 ก.ค. 66) Facebook iconFacebookTwitter iconTwitterLINE iconLine
อ่านเพิ่มเติม »