เงินสมทบประกันสังคม 5% คุณมีสิทธิใช้ได้เท่าไหร่ อะไรบ้าง

มนุษย์เงินเดือน ข่าว

เงินสมทบประกันสังคม 5% คุณมีสิทธิใช้ได้เท่าไหร่ อะไรบ้าง
ประกันสังคมผู้ประกันตนกองทุนประกันสังคม
  • 📰 ktnewsonline
  • ⏱ Reading Time:
  • 41 sec. here
  • 10 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 48%
  • Publisher: 63%

ประกันสังคม ผู้ประกันตน ม.33 ถูกหักเงิน 5% สมทบกองทุนประกันสังคม สูงสุดไม่เกินเดือนละ 750 บาทเงินก้อนนี้แบ่งอย่างไร เอาไปทำอะไรบ้าง และผู้ประกันตนจะใช้สิทธิประโยน์จากเงินก้อนนี้อย่างไร?

สำหรับ 5% ที่ ผู้ประกันตน ส่งเงินสมทบไปนั้น ทาง ประกันสังคม จะแบ่งเงินสมทบไว้สำหรับดูแลในเรื่องเสียชีวิต ในอัตรา 0.08% และ 0.08% โดยสามารถเข้ารับสิทธิประโยชน์จาก ประกันสังคม ในกรณีเสียชีวิต ได้ดังนี้ - เงินสงเคราะห์การตาย จ่ายเงินสมทบตั้งแต่ 36 เดือนขึ้นไป แต่ไม่ถึง 120 เดือน รับเงินในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเฉลี่ย 4 เดือน5.สงเคราะห์บุตรและชราภาพ 3.00%

สำหรับ 5% ที่ผู้ประกันตนส่งเงินสมทบไปนั้น ทางประกันสังคมจะแบ่งเงินสมทบไว้สำหรับดูแลในเรื่องสงเคราะห์บุตรและชราภาพ ในอัตรา 3.00% และ 3.

- กรณีรับเงินบำเหน็จ จ่ายเงินสมทบตั้งแต่ 12 เดือนขึ้นไป แต่ไม่ครบ 180 เดือน จะได้รับเงินกรณีชราภาพในส่วนของผู้ประกันตน รวมกับเงินสมทบในส่วนของนายจ้าง และผลประโยชน์ตอบแทน- กรณีรับเงินบำนาญ จ่ายเงินสมทบมากกว่า 180 เดือน ปรับเพิ่มอัตราเงินบำนาญชราภาพร้อยละ 1.5 / ระยะเวลาการจ่ายเงินสมทบครบทุก 12 เดือนสำหรับ 5% ที่ผู้ประกันตนส่งเงินสมทบไปนั้น ทางประกันสังคมจะแบ่งเงินสมทบไว้สำหรับดูแลในเรื่องว่างงาน ในอัตรา 3.00% และ 3.

ดังนั้น เมื่อคุณเข้าสู่การเป็นผู้ประกันตน ม.33 แล้ว อย่าลืมตรวจเช็กความคุ้มครองที่จะได้รับจากประกันสังคมีให้ละเอียด เพื่อไม่ให้เสียสิทธิที่พึงได้รับไปโดยไม่รู้ตัวว่าสามารถเบิกได้ ซึ่งสามาถตรวจสอบความคุ้มครองทั้งหมดได้ที่สำนักงานประกันสังคม

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

ktnewsonline /  🏆 24. in TH

ประกันสังคม ผู้ประกันตน กองทุนประกันสังคม ประกันสังคมมาตรา 33 เงินสมทบประกันสังคม วางแผนภาษี ภาษีเรื่องง่าย ภาษีเรื่องง่าย By Inflow Accounting

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

แจงเหตุผลที่ 'ประกันสังคม' ต้องปรับ ‘เพดานค่าจ้าง’แจงเหตุผลที่ 'ประกันสังคม' ต้องปรับ ‘เพดานค่าจ้าง’ปลัดแรงงานชี้ “ปรับเพดานค่าจ้าง” เงินสมทบประกันสังคม แบบขั้นบันได 3 ขั้น เหตุต้องให้สิทธิประโยชน์เพียงพอ-มั่นคงแก่ผู้ประกันตน-ไม่จำกัดสิทธิ ย้ำคนค่าจ้างไม่เกิน 15,000 บาทจ่ายเท่าเดิม
อ่านเพิ่มเติม »

ทายาทขอรับเงินบำเหน็จจากประกันสังคม กรณี 'ผู้ประกันตน ม.33 ม.39' เสียชีวิตทายาทขอรับเงินบำเหน็จจากประกันสังคม กรณี 'ผู้ประกันตน ม.33 ม.39' เสียชีวิตขั้นตอนขอรับเงินบำเหน็จจากประกันสังคม สำหรับทายาท 'ผู้ประกันตน ม.33 ม.39' กรณีเสียชีวิต เงื่อนไข เอกสารที่ต้องใช้ รับสิทธิประโยชน์ ค่าทำศพ 50,000 บาท และเงินสงเคราะห์
อ่านเพิ่มเติม »

เช็คเลย ม.33 ม.39 ประกันสังคมจ่อลดจ่ายเงินสมทบ 6 เดือนเช็คเลย ม.33 ม.39 ประกันสังคมจ่อลดจ่ายเงินสมทบ 6 เดือนมีเฮ! ผู้ประกันตน ม.33 ม.39 ลุ้น ประกันสังคม จ่อชงมาตรการช่วยเหลือผู้ที่ได้รับผลกระทบจากน้ำท่วมใน 41 จังหวัด เสนอ ครม.ปรับลดเงินสมทบประกันสังคมเป็นเวลา 6 เดือน พร้อมขยายเวลายื่นแบบรายการแสดงการส่งเงินสมทบของนายจ้างและลูกจ้าง
อ่านเพิ่มเติม »

'ประกันสังคม' แจงสิทธิประโยชน์ 'กรณีเสียชีวิต' ผู้ประกันตน ม.33, 39, 40'ประกันสังคม' แจงสิทธิประโยชน์ 'กรณีเสียชีวิต' ผู้ประกันตน ม.33, 39, 40สำนักงานประกันสังคม เผยการจ่ายสิทธิประโยชน์ 'กรณีเสียชีวิต' สำหรับผู้ประกันตน ม.33 ม.39 ม.40 มีเงื่อนไขต้องส่งเงินสมทบไม่น้อยกว่า 1 เดือน ภายในระยะเวลา 6 เดือนก่อนเสียชีวิต วันนี้(16 ก.ค.2567) นายบุญสงค์ ทัพชัยยุทธ์ เลขาธิการสำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน เปิดเผยว่า การจ่ายสิทธิประโยชน์กรณีตายของผู้ประกันตน ม.33 และ ม.
อ่านเพิ่มเติม »

ประกันสังคม แจงสิทธิประโยชน์กรณีตาย ผู้ประกันตน ม.33, 39, 40ประกันสังคม แจงสิทธิประโยชน์กรณีตาย ผู้ประกันตน ม.33, 39, 40ประกันสังคมแจงสิทธิประโยชน์กรณีตายผู้ประกันตน ม.33, ม.39, และ ม.40 วันที่ 16 กรกฎาคม 2567 นายบุญสงค์ ทัพชัยยุทธ์ เลขาธิการสำนักงานประกันสังคม
อ่านเพิ่มเติม »

บำเหน็จ บำนาญ ผู้ประกันตน ม.33 ม.39 ได้เท่าไร คำนวณอย่างไรบำเหน็จ บำนาญ ผู้ประกันตน ม.33 ม.39 ได้เท่าไร คำนวณอย่างไรสิทธิประโยชน์ประกันสังคม ผู้ประกันตน ม.33 และ ม.39 รับบำนาญชราภาพ-บำเหน็จชราภาพ เมื่อเกษียณ หรืออายุ 55 ปีบริบูรณ์ จะได้บำเหน็จหรือบำนาญ และคำนวณอย่างไร
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-06 15:26:01