เข็นร่าง พ.ร.ฎ.กำกับดูแลธุรกิจ'เช่าซื้อ'รถ 1.8 ล้านล. คุม'ดอกเบี้ย'-แก้เอาเปรียบลูกหนี้ isranews สํานักข่าวอิศรา
สำหรับการปรับปรุง ร่าง พ.ร.ฎ.กำหนดให้การประกอบธุรกิจทางการเงินบางประเภทอยู่ภายใต้บังคับของพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ.2551 พ.ศ.... เพื่อกำกับดูแลธุรกิจการให้เช่าซื้อและการให้เช่าแบบลีสซิ่งรถยนต์และรถจักรยานยนต์ ซึ่งผลักดันโดย ธนาคารแห่งประเทศไทย ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โดยข้อมูลสถิติเรื่องร้องเรียนที่ได้รับแจ้งจากประชาชนผ่านศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน ของ ธปท. พบว่า ระหว่างปี 2562-2565 มีเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับธุรกรรมเช่าซื้อรวม 489 เรื่อง หรือคิดเป็น 8% ของเรื่องร้องเรียน และที่เราต้องทำเรื่องนี้ เพราะธุรกิจเช่าซื้อเป็นธุรกิจที่ให้บริการประชาชนกับวงกว้าง มีอัตราการขยายตัวที่สูงมาก โดยขยายตัวเฉลี่ยปีละ 5.5% อีกทั้งส่วนหนึ่งก็มีปัญหาเรื่องการคิดอัตราดอกเบี้ยที่สูงด้วย และมีเรื่องร้องเรียนเพิ่มขึ้น” สุวรรณี เจษฎาศักดิ์ ผู้อำนวยการอาวุโส ฝ่ายนโยบายและกำกับสถาบันการเงิน 2 ธปท. กล่าว
นอกจากนี้ ในกรณีที่มีเหตุอันสมควร ธปท.อาจประกาศกำหนดให้ผู้ประกอบธุรกิจปฏิบัติในเรื่องดังต่อไปนี้ ดอกเบี้ยหรือส่วนลดที่อาจเรียกได้ ค่าบริการที่อาจเรียกได้ เงินมัดจำที่อาจเรียกได้ หลักประกันเป็นทรัพย์สินที่ต้องเรียก ผลประโยชน์ที่อาจเรียกได้จากการทำธุรกรรม เบี้ยปรับที่อาจเรียกได้ กำหนดให้ผู้ประกอบธุรกิจจัดทำบัญชีเพื่อแสดงผลการดำเนินงานและฐานะการเงินที่เป็นอยู่ตามความเป็นจริง โดยถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีฯ และ ธปท.
ขจร ระบุว่า ที่ผ่านมาธุรกรรมสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์และมอเตอร์ไซค์ เป็นธุรกรรมที่ไม่มีหน่วยงานภาครัฐกำกับดูแลชัดเจน เพราะแม้ว่าจะมีกฎหมายแพ่ง 3 มาตรา ที่บัญญัติเกี่ยวกับการเช่าซื้อ แต่ ธปท. ที่มีหน้าที่กำกับดูแลธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงิน ก็ไม่ได้เข้าไปกำกับดูแลธุรกรรมเช่าซื้อ ขณะที่ สคบ. ก็ดูเฉพาะการควบคุมสัญญา ไม่ได้เข้าไปกำกับดูแลธุรกิจนี้โดยตรง
“อย่างเรื่องสินเชื่อเช่าซื้อมอเตอร์ไซค์ เมื่อดูแล้วจะเหมือนว่าประชาชนเสียค่างวดแค่หลักพันบาท แต่ถ้าดูกันจริงๆ จะพบว่าประชาชนเสียดอกเบี้ยจริงสูงถึง 50-60% ต่อปี และเจ้าหนี้เองไม่ค่อยอยากให้จ่ายสดกันด้วย ซึ่งอันนี้เป็นความเดือดร้อนที่ประชาชนได้รับ ส่วนที่ไปอ้างว่าสินเชื่อเช่าซื้อมอเตอร์ไซค์ต้องเก็บดอกเบี้ยสูงๆ เพราะหนี้เสียเยอะ
“ปัญหาที่ผู้บริโภคร้องเรียกเข้ามา คือ สินเชื่อเช่าซื้อรถเรียกเก็บดอกเบี้ยในอัตราที่สูง และคิดดอกเบี้ยแบบเงินต้นคงที่ เมื่อลูกหนี้เอาเงินไปตัดเงินต้น แต่ดอกเบี้ยก็ยังเหมือนเดิม ไม่ได้มีการลดต้นลดดอก รวมทั้งมีปัญหาว่าผู้บริโภคที่ผ่อนไม่ไหว แล้วเอารถไปคืน แต่กลับถูกเจ้าหนี้ฟ้องเรียกเงินส่วนต่างจากค่ารถ
“เมื่อปลายปีแล้ว สคบ. มีการเปิดรับฟังความคิดเห็นในเรื่องควบคุมดอกเบี้ยเช่าซื้อรถ แต่สุดท้ายก็เงียบไป จนกระทั่งมีร่าง พ.ร.ฎ.ของแบงก์ชาติออกมา แต่เนื่องจากในร่าง พ.ร.ฎ. จะควบคุมไปที่ผู้ประกอบธุรกิจ เช่น การแจ้งข้อมูลผลิตภัณฑ์ให้ลูกค้าทราบ การรายงานผล และให้แบงก์ชาติเข้าไปตรวจสอบได้ “มีพิจารณาเนื้อหาหลักๆของ ร่าง พ.ร.ฎ.ฉบับนี้ จะพบว่าเป็นเรื่อง Market conduct ที่แบงก์ชาตินิยามว่า เป็นการให้สินเชื่ออย่างเป็นธรรม โดยเรามองว่าการทำเรื่อง Market conduct ซึ่งกลุ่มแบงก์ทำมา 4-5 ปีแล้ว ทำให้ระบบค่อนข้างสมบูรณ์ดี ไม่มีการเอารัดเอาเปรียบ และทำให้ระบบของแบงก์และนอนแบงก์ มีมาตรฐานเดียวกัน” บุญหนา ระบุ
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
วิษณุ ชี้ยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉินคุมโควิด-19 ขึ้นกับ สธ.-ศบค.ประเมินสถานการณ์ : อินโฟเควสท์นายวิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี กล่าวว่า กรณี นพ.อุดม คชินทร ที่ปรึกษาศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 (ศบค.) ระบุว่าเตรียมเสนอ ศบค.ให้พิจารณาไม่ขยายการบังคับใช้ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน ที่จะสิ้นสุด 30 ก.ย.นั้นก็อาจจะเป็นได้ แต่การประชุมวันนี้ไม่ได้มีการเสนอเข้ามา เพราะหากไม่ต่ออายุการประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน อำนาจตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉินก็สิ้นสุดลง ส่วน ศบค.จะอยู่หรือไปก็ได้ แต่โดยหลักก็ควรจะยุบ แต่อาจให้อยู่ตามอำนาจกฏหมายอีกฉบับหนึ่ง คือ พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน แต่ลดบทบาทและอำนาจหน้าที่ของ ศบค.ลง และส่งมอบให้กระทรวงสาธาณสุขจัดการ โดยไม่ต้องไปยุ่งกับสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) อีก ทั้งนี้ สถานการณ์โควิดขณะนี้มีความเป็นไปได้ที่จะไม่ต่ออายุ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน หรือไม่นั้น คงไม่สามารถตอบได้ ต้องถามจากกระทรวงสาธารณสุข และ ศบค.ซึ่งเป็นผู้ประเมินสถานการณ์ หากไม่ใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ก็จะใช้ พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558 ฉบับเดิม ซึ่งอำนาจส่งกลับคืนไปให้กระทรวงสาธารณสุข ส่วน พ.ร.ก.แก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558 ที่ ครม.เคยเห็นชอบแล้ว ยังไม่ได้ประกาศใช้ เพราะต้องรอให้พิจารณาครอบคลุมกับโรคอุบัติใหม่ทุกชนิดก็เลยรั้งรอไว้ …
อ่านเพิ่มเติม »
'นายกรัฐมนตรี' ยัน 'พ.ร.ก.ฉุกเฉิน' ยังจำเป็นพ.ร.ก.ฉุกเฉิน ยังเลิกไม่ได้ นายกฯยัน ใช้เพราะจำเป็น พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ศบค. โควิด วัคซีน ประยุทธ์ ฉีดวัคซีน ข่าววันนี้ คมชัดลึกออนไลน์
อ่านเพิ่มเติม »
เลขา สมช.ขอเวลาประเมินโควิด ก่อนชงยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉินปลายเดือนหน้าเลขา สมช.ขอเวลาประเมินโควิด ก่อนชงยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉินปลายเดือนหน้า PPTVHD36 PPTVNews ช่อง36 เรื่องข่าวเรื่องใหญ่ สมช โควิด โควิด19 ศบค โอมิครอน ยกเลิกพรกฉุกเฉิน พรกฉุกเฉิน
อ่านเพิ่มเติม »
ต.ค.ยุบศบค.เลิกฉุกเฉินต.ค.ยุบศบค.เลิกฉุกเฉิน หนังสือพิมพ์ ไทยโพสต์ออนไลน์ ไทยโพสต์
อ่านเพิ่มเติม »
ชงเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉิน โควิดเป็นโรคเฝ้าระวังเริ่ม 1 ตุลาคม หมอค้านผับเปิดถึงตี 4โฆษก ศบค.เผยผลการประชุม เดือน ก.ย. เปิดให้ซื้อขายยาโควิดในร้านขายยาได้ตามใบสั่งแพทย์ เดือน ต.ค. เตรียมลดบทบาท ศบค. โควิด19 ข่าวหน้า1 ไทยรัฐออนไลน์
อ่านเพิ่มเติม »
กมธ.กัญชาฯ เผยเคาะปลูกกัญชาใช้เองบ้านละ 15 ต้น ปลูกขายต้องขออนุญาตทุกกรณี : อินโฟเควสท์นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ โฆษกคณะกรรมาธิการ (กมธ.) วิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.กัญชา กัญชง พ.ศ. … กล่าวถึงรายละเอียดร่าง พ.ร.บ.กัญชา กัญชงฯ ว่า มีการประยุกต์กฎหมายมาจากทั้ง พ.ร.บ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ, พ.ร.บ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และร่าง พ.ร.บ.พืชกระท่อม ซึ่งมีสาระสำคัญ คือ มาตรา 4 ที่กำหนดให้แยกกฎหมายเกี่ยวข้องกับกัญชาและกัญชงออกจากกัน โดยให้วัดจากปริมาณสารที่ทำให้มึนเมา คือ สารทีเอชซี (THC) ตามคณะกรรมการกัญชากัญชงกำหนด เช่น ทีเอชซี ไม่เกิน 1% ของช่อดอกเรียก กัญชง หากเกิน 1% เรียก กัญชา ซึ่งจะมีระดับการควบคุมไม่เหมือนกัน แต่จะมีการกำหนดปริมาณเท่าไร กติกาอย่างไร จะมีคณะกรรมการกัญชากัญชงเป็นผู้ดูแล ส่วนการปลูกในครัวเรือนตามมาตรา 18 วรรค 1 ระบุว่า ผู้ใดประสงค์เพาะปลูกกัญชา กัญชง ใช้ประโยชน์ในครัวเรือน กมธ.ได้เปลี่ยนความเห็นตามประชาชนว่า 10 ต้นไม่พอ จึงกำหนดไว้ที่ 15 …
อ่านเพิ่มเติม »