“เกษตรกร” ขอบคุณนักวิจัยไทย พัฒนาจุลินทรีย์ย่อยสลาย “ตอซังข้าว” โดยไม่ต้องเผาจนได้รับการยอมรับ ช่วยลดมลพิษจากการเผา มั่นใจช่วยลดฝุ่น PM 2.5 ได้มาก วันที่ 6 ม.ค.68 นายอนุกูล พฤกษานุศักดิ์ รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยถึงความสำเร็จของนักวิจัยไทย โดย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.
“เกษตรกร” ขอบคุณนักวิจัยไทย พัฒนาจุลินทรีย์ย่อยสลาย “ตอซังข้าว” โดยไม่ต้องเผาจนได้รับการยอมรับ ช่วยลดมลพิษจากการเผา มั่นใจช่วยลดฝุ่น PM 2.5 ได้มาก
วันที่ 6 ม.ค.68 นายอนุกูล พฤกษานุศักดิ์ รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยถึงความสำเร็จของนักวิจัยไทย โดย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ที่ได้ศึกษาและพัฒนากลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพในการย่อยสลายตอซังข้าว “BioD I วว.
สำหรับประสิทธิภาพของกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพในการย่อยสลายตอซังข้าว “BioD I วว.” จะใช้ระยะเวลาประมาณ 5-10 วัน ทำให้ตอซังข้าวนิ่ม ไถกลบได้ง่าย และไม่ส่งผลเสียต่อการเจริญเติบโตของข้าวและเป็นมิตรต่อระบบนิเวศ ซึ่งมีการนำร่องใช้งานเบื้องต้นแล้ว มากกว่า 10 พื้นที่ในจังหวัดปทุมธานี ตั้งแต่ช่วงเดือน พ.ค. - ก.ย.
นายอนุกูล กล่าวต่อว่า วว. ได้ยื่นจดอนุสิทธิบัตรชุดบ่มเลี้ยงหัวเชื้อจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพย่อยสลายตอซังข้าวเรียบร้อยแล้ว และพร้อมให้คำแนะนำปรึกษาแก่วิสาหกิจชุมชน พี่น้องเกษตรกรในพื้นที่อื่น ๆ ของประเทศไทย เพื่อการสนับสนุนให้ภาคการเกษตรลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมด้วยความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ได้อย่างเป็นรูปธรรมและยั่งยืน โดยประชาชนสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ call center โทร.
“รัฐบาลไม่นิ่งนอนใจในการมุ่งแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศโดยเฉพาะฝุ่นละออง PM 2.5 จากภาคเกษตร การพัฒนาและวิจัยการใช้กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพฯ เพื่อลดการเผาในพื้นที่เกษตร ถือเป็นการส่งเสริมการใช้ซังข้าวอย่างสร้างสรรค์ ถือเป็นความสำเร็จของนักวิจัยไทยในการใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ให้เกิดประโยชน์ ทั้งนี้ วว.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
สถานการณ์ฝุ่น PM 2.5 ในกรุงเทพมหานครศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศกรุงเทพมหานครรายงานว่าสถานการณ์ฝุ่น PM 2.5 ในบางพื้นที่ของกรุงเทพฯ เกินมาตรฐาน โดยมีค่า PM 2.5 อยู่ระหว่าง 29.5-43.8 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร
อ่านเพิ่มเติม »
GISTDA เฝ้าติดตามฝุ่น PM 2.5 ผ่านแอป 'เช็คฝุ่น' พบกรุงเทพฯ 3 เขต เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพGISTDA รายงานสถานการณ์ฝุ่น PM 2.5 แบบรายชั่วโมง ผ่านแอป 'เช็คฝุ่น' พบกรุงเทพฯ 3 เขต (บางกอกใหญ่, คลองสาน, ธนบุรี) มีค่าฝุ่น PM 2.5 ระดับสีแดง เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ ส่วนภาคกลาง พบ 13 จังหวัดที่มีค่าฝุ่น PM 2.5 ระดับสีส้ม
อ่านเพิ่มเติม »
ชาวไร่อ้อยห้วยผึ้งกาฬสินธุ์ขานรับตัดอ้อยสด งดการเผา ลดฝุ่นร่วมแก้ปัญหา pm 2.5ชาวไร่อ้อยห้วยผึ้งกาฬสินธุ์ขานรับตัดอ้อยสด งดการเผา ลดฝุ่นร่วมแก้ปัญหา pm 2.5 เกษตรกรชาวไร่อ้อยตำบลคำบง อำเภอห้วยผึ้ง จังหวัดกาฬสินธุ์ ขานรับพร้อมให้ความร่วมมือตัดอ้อยสด งดการเผา ลดโลกร้อน ลดฝุ่นละอองขนาดเล็ก pm 2.
อ่านเพิ่มเติม »
'ฝุ่นพิษ'ฟุ้ง 'กทม.' 31 พื้นที่อยู่ในระดับสีส้ม เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพเมื่อวันที่ 22 ธ.ค.67 ศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศกรุงเทพมหานคร รายงานสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ของสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศของ กทม.
อ่านเพิ่มเติม »
GISTDA ติดตามฝุ่น PM 2.5 รายชั่วโมง ผ่านแอป 'เช็คฝุ่น' 25 จังหวัด เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพภาพรวมประเทศพบ 25 จังหวัด ที่มีค่าฝุ่น PM 2.5 เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ 5 จังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีค่าฝุ่นสูงสุด แอป 'เช็คฝุ่น' คาดการณ์อีก 3 ชั่วโมง ฝุ่น PM 2.5 ยังคงอยู่ในระดับที่เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ
อ่านเพิ่มเติม »
สถานการณ์ฝุ่น PM 2.5 กรุงเทพมหานครศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศกรุงเทพมหานคร (กทม.) รายงานสถานการณ์ฝุ่นละออง PM 2.5 เวลา 07.00 น. เกินมาตรฐานในระดับสีส้ม โดยมีค่า PM 2.5 34.8-53.2 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร
อ่านเพิ่มเติม »