อายุขัยกำหนดได้แม่นกว่าหมอดู

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

อายุขัยกำหนดได้แม่นกว่าหมอดู
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 siamrath_online
  • ⏱ Reading Time:
  • 54 sec. here
  • 2 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 25%
  • Publisher: 63%

เสรี พงศ์พิศ Fb Seri Phogphit “แก่ช้า อายุยืน” เป็นหนังสือของ ดร.

“แก่ช้า อายุยืน” เป็นหนังสือของ ดร.เดวิด ซินแคลร์ อาจารย์ที่ฮาร์วาร์ด นักวิทยาศาสตร์ผู้เชี่ยวชาญด้านพันธุศาสตร์และกระบวนการชราภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ศึกษากลไกที่เกี่ยวข้องกับความชราภาพและการค้นหาวิธีการยืดอายุขัยและคุณภาพชีวิตในวัยสูงอายุ

เขาเห็นว่า Sirtuins เป็นกลุ่มโปรตีนที่มีบทบาทในการควบคุมกระบวนการชราภาพและซ่อมแซม DNA Sirtuins ทำงานได้ดีขึ้นเมื่อมี NAD+ ซึ่งเป็นโมเลกุลที่ร่างกายผลิตขึ้น แต่ปริมาณจะลดลงเมื่ออายุมากขึ้นเขาเสริมว่า การกระตุ้นกลไกเซลล์ให้รับมือกับความเครียด ด้วยฮอร์เมซิส กระบวนการที่เซลล์ตอบสนองต่อความเครียดในระดับที่ปลอดภัย เช่น การจำกัดแคลอรี หรือการออกกำลังกาย...

ซินแคลร์ไม่ได้ต้องการให้คนมีอายุยืนเท่านั้น แต่ต้องการให้มีสุขภาพดีในวัยชรา มีชีวิตยืนยาวอย่างมีคุณภาพปราศจากโรคภัย เขาเสนอว่า"ข้อมูลเชิงพันธุกรรม" มีความสำคัญต่อการรักษาเซลล์ให้อยู่ในสถานะที่ดี เขาเปรียบเทียบ DNA ว่าเป็นข้อมูลดิบของเซลล์ ในขณะที่ Epigenetics คือ"ซอฟต์แวร์" ที่ควบคุมการแสดงออกของยีน แต่เมื่อเรามีอายุมากขึ้น Epigenetic"software" เกิดความเสียหาย เช่น การสะสมโปรตีนที่ไม่พึงประสงค์และการเสียสัญญาณทางพันธุกรรม เซลล์จึงสูญเสียความสามารถในการทำหน้าที่เหมือนในวัยหนุ่มสาว

ซินแคลร์เห็นว่าในอนาคต มนุษย์จะสามารถควบคุมกระบวนการชราได้ และอาจ"ย้อนเวลา" ให้เซลล์กลับมาอยู่ในสภาพที่แข็งแรงเหมือนวัยหนุ่มสาว ซึ่งจะช่วยให้ชีวิตมีอายุยืนและมีคุณภาพมากขึ้น

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

siamrath_online /  🏆 15. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

เกษตรกรรมกับอนาคตของชาติเกษตรกรรมกับอนาคตของชาติเสรี พงศ์พิศ Fb Seri Phogphit เมื่อโลกเดือด เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ ความแห้งแล้ง น้ำท่วม ไฟป่า เกิดปัญหาการเกษตร การผลิตอาหารที่ขาดแคลน ราคาแพงขึ้น ปัญหาที่ทวีความรุนแรงขึ้นให้ประเทศต่างๆ ทั่วโลก การเกษตรไทยได้รับผลกระทบมาก เพราะส่วนใหญ่พึ่งพาธรรมชาติ แม้ผลผลิตมาก แต่มูลค่าน้อยไม่ถึงร้อยละ 10 ของจีดีพี ภาคเกษตรมีแรงงานหนึ่งในสาม...
อ่านเพิ่มเติม »

เปลี่ยนแบบไหนจึงจะพัฒนาได้จริงเปลี่ยนแบบไหนจึงจะพัฒนาได้จริงเสรี พงศ์พิศ Fb Seri Phogphit ในโลกที่มีการแข่งขันสูง จำเป็นต้องปรับตัวตลอดเวลา การที่ขนาด “เศรษฐกิจ” เวียดนามและฟิลิปปินส์กำล้งจะแซงไทยในไม่กี่ปีข้างหน้า เราคงต้องมาทบทวนกันจริงจังว่า เกิดอะไรขึ้น และควรทำอย่างไร คงไม่ต้องไปถามนักเศรษฐศาสตร์ที่ได้รับรางวัลโนเบลปีนี้ (เพราะรู้กันอยู่) ว่า ทำไมไทยจึง “ไม่พัฒนา” อย่างที่ควรเป็น ทั้งๆ...
อ่านเพิ่มเติม »

ความยั่งยืนที่อาจเป็นความขมขื่นความยั่งยืนที่อาจเป็นความขมขื่นเสรี พงศ์พิศ Fb Seri Phogphit “ความยั่งยืน” คำที่หลายคนฟังแล้วส่ายหน้า ได้ยินมานานจนไม่รู้แปลว่าอะไร ยิ่งระยะ 10 ปีมานี้ยิ่งถี่ขึ้น เพราะ “เป้าหมายการพัฒนายั่งยืน” (SDG 2015-2030) ของสหประชาชาติ และสโลแกนรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ที่ว่า “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” แต่เรื่องจริงที่เรามิอาจปฏิเสธ มองข้ามหรือละเลยได้ คือ...
อ่านเพิ่มเติม »

เมื่อโลกหมุนกลับ พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงเมื่อโลกหมุนกลับ พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงเสรี พงศ์พิศ Fb Seri Phogphit เมื่อพ.ศ.
อ่านเพิ่มเติม »

กาลามสูตรกับสังคมไทยกาลามสูตรกับสังคมไทยเสรี พงศ์พิศ Fb Seri Phogphit กรณี “ดิไอคอน” เป็นเพียงภูเขาน้ำแข็งของการฉ้อฉลในสังคมไทยยุคโซเชียลมีเดีย ที่ผู้คนถูกกระหน่ำด้วยข้อมูลข่าวสารจริงและเท็จ ล่อลวงด้วยวิธีการที่แยบยล เมื่อแยกไม่ออกก็ตกเป็นเหยื่อ หลงเชื่อ และเกิดปัญหาเป็น “ลูกโซ่” เห็นว่าจะมีตามมาอีกมากมาย “หลายโซ่” “ดิไอคอน” เป็นเพียง “หนังตัวอย่าง” เท่านั้น...
อ่านเพิ่มเติม »

โศกนาฏกรรมแห่งความฉ้อฉลโศกนาฏกรรมแห่งความฉ้อฉลเสรี พงศ์พิศ Fb Seri Phogphit ไม่ใช่เรื่องน่าภูมิใจที่ไทยเป็นประเทศที่มีอุบัติเหตุบนถนนมากอันดับต้นๆ ของโลก ตายปีละกว่า 15,000 คน บาดเจ็บกว่า 8 แสนคน มากที่สุด คือ ช่วงเทศกาลปีใหม่และสงกรานต์ วัวหายแล้วก็ล้อมคอกทุกที แต่คอกที่บอบบางไม่ได้ทำให้ตัวเลขความตายบนท้องถนนลดลง อย่างกรณีที่น่าสลดใจไฟไหม้รถบัสที่เด็กเล็กกับครูเสียชีวิต 23 คน...
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-21 12:30:24