KKP Research ประเมินภาคอสังหาริมทรัพย์ไทยมีแนวโน้มชะลอ จากผลกระทบจำนวนประชากรที่ใกล้หดตัว อย่างไรก็ดีอสังหากรุงเทพฯปริมณฑลและจังหวัดใหญ่ยังขยายตัวต่อได้ จากการย้ายถิ่นฐานเข้าสู่เมืองที่มากขึ้น สวนทางกับเมืองรองเสี่ยงซบเซา อสังหา คอนโด
ถึงแม้ภาคอสังหาฯ ไทยโดยรวมจะชะลอตัวลง แต่อสังหาฯในกรุงเทพฯ และจังหวัดใหญ่ยังไปต่อได้ โดยมีแรงสนับสนุนที่แตกต่างจากภาพรวมของประเทศไทย คือ
การย้ายเข้าเมืองใหญ่ สะท้อนจากจำนวนครัวเรือนในกรุงเทพฯ และปริมณฑลขยายตัวที่ 5.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
KKP Research ประเมินอสังหาฯ ไทย โตแค่เมืองใหญ่ เมืองรองซบเซาบ้านล้นตลาดKKP Research วิเคราะห์ภาคอสังหาฯ ไทย ยังคงเติบโตแค่หัวเมืองไหญ่ ตามการไหลเข้าของประชากร ขณะที่เมืองรองบ้านล้นตลาดเพิ่มจากจำนวนประชากรลดลง ชี้ภาพรวมหลังปี 2030 ภาคอสังหาฯจะมีผลกระทบรุนแรง หลังกลุ่มนี้กำลังซื้อหายเกือบหมด
อ่านเพิ่มเติม »
KKP มองอสังหาฯ ไทยถึงทางแยก โตกระจุกแค่เมืองใหญ่ เมืองรองซบเซา : อินโฟเควสท์KKP Research โดยกลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร ประเมินว่า ภาคอสังหาริมทรัพย์ไทย มีแนวโน้มชะลอตัวลงในระยะข้างหน้า เนื่องจากเป็นหนึ่งในธุรกิจที่จะได้รับผลกระทบโดยตรง จากการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ และการหดตัวลงของจำนวนประชากรที่จะเริ่มต้นในปี 2573 ตามการการคาดการณ์ของ UN อย่างไรก็ตาม ภาคอสังหาฯ ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล รวมถึงจังหวัดหัวเมืองใหญ่จะยังขยายตัวต่อได้ตามแนวโน้มการย้ายถิ่นฐานของประชากรเข้าสู่เมืองใหญ่ที่มีมากขึ้น ทำให้ทิศทางอสังหาฯ ไทยจะแตกต่างกันระหว่างเมืองใหญ่และเมืองรองมากขึ้น โดยการเติบโตของภาคอสังหาฯ ในอนาคต มีแนวโน้มที่จะกระจุกตัวอยู่เฉพาะในกรุงเทพฯ ปริมณฑล และจังหวัดใหญ่เท่านั้น *ทิศทางอสังหาฯ ชะลอตัว เมื่อจำนวนประชากรใกล้หดตัว จำนวนประชากรและความหนาแน่นของประชากรในพื้นที่ ถือเป็นปัจจัยหลักในการขับเคลื่อนภาคอสังหาฯ ที่ส่งผลให้ทั้งความต้องการซื้อทั้งตลาดที่อยู่อาศัยและ เชิงพาณิชย์อย่างศูนย์การค้า สำนักงาน และคลังสินค้าเพิ่มมากขึ้น อย่างไรก็ตาม การเติบโตของจำนวนประชากรไทยที่มีแนวโน้มซื้อที่อยู่อาศัยมากที่สุด คือช่วงอายุระหว่าง 25-54 ปี ได้ผ่านจุดสูงสุดไปแล้วนับตั้งแต่ปี 2558 และเริ่มมีจำนวนลดลง ในขณะที่จำนวนประชากรไทยในภาพรวมจะเริ่มลดลงในปี 2573 ซึ่งจะทำให้ภาคอสังหาฯ ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรที่รุนแรงมากขึ้น *4 ปัจจัย กดดันการเติบโตของอสังหาฯ ไทย นอกจากปัจจัยด้านประชากร ภาคอสังหาฯ ที่เริ่มส่งสัญญาณชะลอตัวตั้งแต่ช่วงกลางทศวรรษปี 2010s โดยไม่ได้เกิดจากเฉพาะโครงสร้างประชากรที่เปลี่ยนไป แต่ยังมาจากอีก […]
อ่านเพิ่มเติม »
KKP มองอสังหาฯ ไทยถึงทางแยก โตกระจุกแค่เมืองใหญ่ เมืองรองซบเซา : อินโฟเควสท์KKP Research โดยกลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร ประเมินว่า ภาคอสังหาริมทรัพย์ไทย มีแนวโน้มชะลอตัวลงในระยะข้างหน้า เนื่องจากเป็นหนึ่งในธุรกิจที่จะได้รับผลกระทบโดยตรง จากการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ และการหดตัวลงของจำนวนประชากรที่จะเริ่มต้นในปี 2573 ตามการการคาดการณ์ของ UN อย่างไรก็ตาม ภาคอสังหาฯ ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล รวมถึงจังหวัดหัวเมืองใหญ่จะยังขยายตัวต่อได้ตามแนวโน้มการย้ายถิ่นฐานของประชากรเข้าสู่เมืองใหญ่ที่มีมากขึ้น ทำให้ทิศทางอสังหาฯ ไทยจะแตกต่างกันระหว่างเมืองใหญ่และเมืองรองมากขึ้น โดยการเติบโตของภาคอสังหาฯ ในอนาคต มีแนวโน้มที่จะกระจุกตัวอยู่เฉพาะในกรุงเทพฯ ปริมณฑล และจังหวัดใหญ่เท่านั้น *ทิศทางอสังหาฯ ชะลอตัว เมื่อจำนวนประชากรใกล้หดตัว จำนวนประชากรและความหนาแน่นของประชากรในพื้นที่ ถือเป็นปัจจัยหลักในการขับเคลื่อนภาคอสังหาฯ ที่ส่งผลให้ทั้งความต้องการซื้อทั้งตลาดที่อยู่อาศัยและ เชิงพาณิชย์อย่างศูนย์การค้า สำนักงาน และคลังสินค้าเพิ่มมากขึ้น อย่างไรก็ตาม การเติบโตของจำนวนประชากรไทยที่มีแนวโน้มซื้อที่อยู่อาศัยมากที่สุด คือช่วงอายุระหว่าง 25-54 ปี ได้ผ่านจุดสูงสุดไปแล้วนับตั้งแต่ปี 2558 และเริ่มมีจำนวนลดลง ในขณะที่จำนวนประชากรไทยในภาพรวมจะเริ่มลดลงในปี 2573 ซึ่งจะทำให้ภาคอสังหาฯ ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรที่รุนแรงมากขึ้น *4 ปัจจัย กดดันการเติบโตของอสังหาฯ ไทย นอกจากปัจจัยด้านประชากร ภาคอสังหาฯ ที่เริ่มส่งสัญญาณชะลอตัวตั้งแต่ช่วงกลางทศวรรษปี 2010s โดยไม่ได้เกิดจากเฉพาะโครงสร้างประชากรที่เปลี่ยนไป แต่ยังมาจากอีก […]
อ่านเพิ่มเติม »
KKP Research ประเมินอสังหาฯ ไทย โตแค่เมืองใหญ่ เมืองรองซบเซาบ้านล้นตลาดKKP Research วิเคราะห์ภาคอสังหาฯ ไทย ยังคงเติบโตแค่หัวเมืองไหญ่ ตามการไหลเข้าของประชากร ขณะที่เมืองรองบ้านล้นตลาดเพิ่มจากจำนวนประชากรลดลง ชี้ภาพรวมหลังปี 2030 ภาคอสังหาฯจะมีผลกระทบรุนแรง หลังกลุ่มนี้กำลังซื้อหายเกือบหมด
อ่านเพิ่มเติม »
KKP ดิ่ง 6.61% เหตุกำไรไตรมาส 2/66 ครึ่งปีแรกต่ำคาดราคาหุ้น KKP ร่วง 6.61% หลังกำไรไตรมาส 2/66 และครึ่งปีแรก ต่ำกว่าคาด โบรกฯ หั่นกำไรปี 66-68 ลงปีละ 21-23% ปรับลดคำแนะนำเป็น “REDUCE” KKP กำไรต่ำคาด ราคาหุ้นร่วง หั่นกำไร smartinvestment newgenbusiness
อ่านเพิ่มเติม »
KKP ตั้งสำรองสูง ฉุดกำไรวูบ 30.7% ไตรมาส 2 เหลือ 1,408 ล้านบาทธ.เกียรตินาคินภัทร (KKP) ประกาศงบไตรมาส 2 ปี 66 มีกำไรลดลง 30.7% เหลือ 1,408 ล้านบาท เหตุตั้งสำรองสูงขึ้น 131.2% ขณะที่รายได้ดอกเบี้ยยังคงเติบโตตามสภาวะดอกเบี้...
อ่านเพิ่มเติม »