สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ห่วงใยผู้บริโภค แนะวิธีสังเกตเนื้อหมูที่ปลอดสารเร่งเนื้อแดง ในการนำมาปรุงประกอบอาหารให้มีความปลอดภัยในช่วงเทศกาลปีใหม่ ชี้ความร้อนไม่สามารถทำลายได้ ย้ำ อย.ให้ความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยของผู้บริโภคมาเป็นอันดับแรก มีการลงพื้นที่สุ่มตรวจอย่างต่อเนื่อง วันที่ 28 ธ.ค.
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ห่วงใยผู้บริโภค แนะวิธีสังเกตเนื้อหมูที่ปลอดสารเร่งเนื้อแดง ในการนำมาปรุงประกอบอาหารให้มีความปลอดภัยในช่วงเทศกาลปีใหม่ ชี้ความร้อนไม่สามารถทำลายได้ ย้ำ อย.ให้ความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยของผู้บริโภคมาเป็นอันดับแรก มีการลงพื้นที่สุ่มตรวจอย่างต่อเนื่อง
เภสัชกรเลิศชาย ย้ำว่า การนำยาดังกล่าวไปใช้ผิดวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างกล้ามเนื้อในหมู หรือเร่งให้มีเนื้อแดงมากขึ้น ถือเป็นการปรับเปลี่ยนขั้นตอนกระบวนการการผลิต สุดท้ายผู้ที่บริโภคเนื้อหมูจะได้รับยาที่ตกค้างอยู่ในกล้ามเนื้อหมูหรือเนื้อหมู และเกิดผลกระทบต่อสุขภาพ สังเกตได้จากหลังการรับประทานเนื้อหมูแล้วเกิดอาการ หายใจเร็วขึ้น ใจสั่น หรือรู้สึกกล้ามเนื้อสั่น โดยยาจะออกฤทธิ์ทันที ไม่เกิน 3-4 ชั่วโมง...
เภสัชกรเลิศชาย แนะนำว่า วิธีการป้องกันสารเร่งเนื้อแดง ให้เลือกที่ตัวผลิตภัณฑ์ เลือกแหล่งจำหน่าย ซึ่งการสังเกตและเลือกซื้อเนื้อหมู ให้เลือกซื้อเนื้อหมูที่มีสีชมพูเรื่อๆ ไม่แดงจัด เนื้อนุ่มไม่กระด้าง เนื้อฉ่ำน้ำ มีน้ำแทรกซึมอยู่ในเนื้อหมู มีชั้นไขมันหนา ไม่มีสีคล้ำเขียวและไม่มีกลิ่นเหม็น หากหมูมีลักษณะเนื้อแห้งแดง มันน้อย เนื้อมาก ควรเลี่ยงเพราะมีความสุ่มเสี่ยง
ด้านผู้ผลิตอาหาร หรือผู้ประกอบการที่นำผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ หรือ เนื้อหมู มาใช้ในการปรุงประกอบเพื่อส่งต่อผู้บริโภค มีหน้าที่สำคัญคือคัดเลือกแหล่งวัตถุดิบ สิ่งที่ดีที่สุดคือต้องทราบว่าหมูมาจากฟาร์มใด ซึ่งกรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรฯ มีมาตรฐานในการเลี้ยงหมู ในฟาร์มมาตรฐานจะมีมาตรการป้องกันการใช้ยา หากเลือกจากฟาร์มมาตรฐาน สามารถมั่นใจในความปลอดภัยได้
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
อย.รับรอง 'สารลบริ้วรอย' - ผู้เชี่ยวชาญแนะปรึกษาแพทย์เพื่อความปลอดภัยวงสัมมนาความงาม 'การใช้สารเติมเต็มริ้วรอยอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย' เผย สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) รับรอง 'สารลบริ้วรอย' คุณสมบัติออกฤทธิ์ยาวนาน จัดอยู่ในกลุ่มสารเติมเต็ม แพทย์หญิงกนกวรรณ จันทอุปฬี แนะปรึกษาแพทย์อย่างใกล้ชิด ก่อนใช้
อ่านเพิ่มเติม »
อย.แนะวิธีเช็กข้างกล่อง 42 รุ่นยา 'เออบีซาแทน' ถูกเรียกคืนอย.แนะวิธีตรวจสอบรุ่นการผลิตของยาลดความดันเออบีซาแทน (Irbesartan) 42 รุ่นจากข้างกล่องที่ถูกเรียกคืน ย้ำอย่าหยุดยาทันที ขณะที่หลายโรงพยาบาลออกประกาศแจ้งให้นำยามาคืน จากกรณีที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.
อ่านเพิ่มเติม »
สั่งเฝ้าระวังขาย 'ขนมโรลออน' รอบโรงเรียน หลัง อย.พบลอบนำเข้า'พล.ต.อ.เพิ่มพูน' กำชับสถานศึกษาเฝ้าระวังขาย 'ขนมโรลออน' รอบโรงเรียนในช่วงเปิดเทอม หวั่นส่งผลต่อสุขภาพอนามัยของนักเรียน หลัง อย.พบลักลอบนำเข้า ไม่ได้ยื่นขออนุญาต วันนี้ (25 ต.ค.2566) พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รมว.ศึกษาธิการ เปิดเผยถึงกรณีคณะกรรมการอาหารและยา (อย.
อ่านเพิ่มเติม »
ข่าวจริง! อย.เรียกคืนยาลดความดัน พบปนเปื้อนสารอาจก่อมะเร็งวันที่ 22 ต.ค.66 ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม ประเทศไทย โดยกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม แจ้งว่า ตามที่มีข่าวสารในสื่อต่าง ๆ เกี่ยวกับเรื่อง อย.
อ่านเพิ่มเติม »
เช็กด่วน! อย.เรียกคืนยาลดความดัน 42 รุ่น พบการปนเปื้อนสารที่อาจก่อมะเร็งนายแพทย์ณรงค์ อภิกุลวณิช รักษาราชการแทนเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา เปิดเผยว่า กรณีที่ต่างประเทศมีการเรียกคืนยารักษาโรคความดันโลหิตสูงเออบีซาแทน (Irbesartan) จากบริษัทผู้ผลิต เนื่องจากพบการปนเปื้อนสารที่อาจก่อมะเร็งเอแซดบีทีในวัตถุดิบที่ใช้ผลิตยา สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.
อ่านเพิ่มเติม »