อย่าตื่นตระหนก ซีเซียม137 ผู้เชี่ยวชาญรังสีวิทยา ม.มหิดล ชี้ ค่าความแรงรังสีปัจจุบันอยู่ที่ 41.4 mCi ซึ่งถือว่าน้อย ส่วนกระแสข่าวที่ว่าฟุ้งกระจายได้ไกล 1,000 กม. ไม่ใช่ความจริง! อ่านต่อ: กรุงเทพธุรกิจ กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
ซีเซียม ที่เกิดเหตุมีค่าความแรงรังสี ปัจจุบันอยู่ที่ 41.4 mCi ซึ่งเมื่อเทียบกับความแรงรังสีเริ่มต้นวัดเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2538 อยู่ที่ 80 mCi หรือถ้าคิดเป็นน้ำหนักอยู่ที่ประมาณ 0.000505 กรัม ในทางอุตสาหกรรมถือว่าอยู่ในระดับต่ำเพราะจากที่หาข้อมูลมีการใช้งานตั้งแต่ 1 – 10,000 mCi
ปริมาณรังสีซีเซียมในอุบัติเหตุโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟูกุชิมา เมื่อวันที่ 11 มี.ค.2554 คาดว่ามีการปนเปื้อนซีเซียมสู่สิ่งแวดล้อม 17 PBq=4.60×108 mCi เท่ากับปริมาณรังสีมากกว่ากรณีที่เกิดเหตุนี้ 11 ล้านเท่า โดยประมาณ 24% จากเหตุการณ์นี้ถูกปล่อยลงสู่ทะเลโดยตรงผศ.ดร.
ชาวบ้าน หรือประชาชนที่อยู่รอบๆ หรือคนที่ทำงานอยู่ในโรงหลอมจะต้องเฝ้าระวัง และมีการตรวจเช็กร่างกาย แต่ทั้งนี้ ในภาวะปัจจุบันอาจจะไม่ต้องกังกวลมาก เพราะจำนวนปริมาณซีเซียมน้อย “สิ่งที่ควรทำเมื่อพบวัตถุกัมมันตรังสี คือปิดกั้นบริเวณและแจ้งสายด่วน 1296 เนื่องจากรังสีสามารถวัดได้ด้วยเครื่องวัดรังสีเท่านั้น ส่วนเรื่องเรื่องฝุ่นกัมมันตรังสีซีเซียมนั้น ขอให้ประชาชนในพื้นที่ติดตามค่าการวัดรังสีที่รายงานจากสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ส่วนการปฏิบัติตัวสามารถทำได้ตามปกติได้” ผศ.ดร.กฤศณัฏฐ์ กล่าวศ.นพ.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
ถอดบทเรียนหายนะ 'ซีเซียม-137' แพร่กระจาย เสียชีวิต-เจ็บป่วยจำนวนมากถอดบทเรียนหายนะ สารกัมมันตรังสี ซีเซียม-137 แพร่กระจาย เมื่อกว่า 30 ปีที่แล้วในบราซิล พบคนเสียชีวิตและเจ็บป่วยจำนวนมากบทเรียนการแพร่กระจายของสารกัมมันตรังสี ซีเซียม-137บีบีซี สื่อข
อ่านเพิ่มเติม »
แนะกิน 'มะขามป้อม-ขมิ้นชัน-บัวบก' ช่วยบรรเทาพิษ 'ซีเซียม'จากการสูญหายของวัตถุกัมมันตรังสี ซีเซียม – 137 จากโรงไฟฟ้าไอน้ำแห่งหนึ่งใน จ.ปราจีนบุรี ก่อนมีรายงานจากภาครัฐ พบว่า วัตถุดังกล่าวได้ถูกหลอมจนกลายเป็นฝุ่นเล็กปนเปื้อนกัมมันตรังสี สร้างความกังวลด้านสาธารณสุข และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในวงกว้าง 'ดร.ภญ.ผกากรอง ขวัญข้าว' ผู้ช่วยผู้อำนวยการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร กล่าวว่า ไม่ได้อยากให้ประชาชนตื่นตระหนก แต่อุบัติเหตุแบบนี้ก็มีโอกาสเกิดขึ้นได้ ก่อนหน้านี้ในประเทศไทยก็มีกรณีเครื่องฉายรังสีโคบอลต์-60 ที่ไม่ใช้แล้วถูกแยกชิ้นส่วนออกมา หรือแม้กระทั่งประเทศที่เจริญอย่างออสเตรเลียก็เกิดเหตุแคปซูลบรรจุซีเซียมหายเช่นกัน
อ่านเพิ่มเติม »
ซีเซียม-137 ที่หายไปถูกหลอมแล้วจะเป็นอย่างไร อันตรายมากน้อยแค่ไหนคนในวงการรังสี ตอบข้อสงสัย ซีเซียม-137 ที่หายไปถูกหลอมแล้วจะเป็นอย่างไร อันตรายมากน้อยแค่ไหน อันตรายเท่าเหตุการณ์ใหญ่หรือไม่
อ่านเพิ่มเติม »
'ดร.เอ้' ส่งโพสต์จี้ภาครัฐ พร้อมถอดบทเรียน 'ซีเซียม-137' หาย อันตรายถึงชีวิต'ดร.เอ้' ส่งโพสต์จี้ภาครัฐ พร้อมถอดบทเรียน 'ซีเซียม-137' หาย 'อันตรายถึงชีวิต' สุชัชวีร์ รัฐบาล ซีเซียม137 ข่าววันนี้ NationOnline
อ่านเพิ่มเติม »
'ดร.เอ้' ถอดบทเรียน ซีเซียม-137 หายอันตรายถึงตาย จี้โรงงานยึดหลักสากลอย่างเคร่งครัด'ดร.เอ้' ถอดบทเรียน ซีเซียม-137 หายไป อันตรายถึงตาย สะท้อนปัญหาคุณภาพชีวิตคนไทยที่ขาดการดูแล แนะทุกโรงงานที่มีการครอบครองวัสดุกัมมันตรังสีต้องมีมาตรฐานตรวจสอบรัดกุมเข้มงวด ยึดหลักสากลอย่างเคร่งครัด หน่วยงานรัฐต้องรายงานผลอย่างซื่อตรงชัดเจนไม่หมกเม็ด
อ่านเพิ่มเติม »