สศช.ยกข้อมูลเครดิตบูโร เตือนหนี้เสียของจริงสูงกว่าที่ ธปท.เปิดเผย 3 เท่า จาก 140,000 ล้านบาท เป็น 980,000 ล้านบาท ระบุเจนวายก่อหนี้สูง จากทัศนคติที่ว่า “ของมันต้องมี” 50% แม้มีเงินไม่เพียงพอ กู้แบงก์ ใช้บัตรเครดิตรูด ขณะที่ 70% ผ่อนชำระสินค้าแบบเสียดอกเบี้ย ส่วนคนสูงอายุเป็นหนี้เสียในสินเชื่อส่วนบุคคลและรถยนต์
นายดนุชา พิชยนันท์ เลขาธิการสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดเผยรายงานภาวะสังคมไทยไตรมาส 2 ปี 2566 ว่า สศช.ได้มีการปรับฐานหนี้ครัวเรือนให้สอดคล้องกับการปรับนิยามของธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ได้มีการเพิ่มหนี้ในส่วนต่างๆ เช่น กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา หนี้สหกรณ์ หนี้การเคหะแห่งชาติ เป็นต้น รวมมูลหนี้กว่า 700,000 ล้านบาทเข้ามาด้วย และปรับข้อมูลย้อนหลังไปทุกไตรมาส สรุปหนี้สินครัวเรือนในไตรมาสที่ 1/2566 มีมูลค่า 15.96 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้น 3.6% จากไตรมาสเดียวกันปีก่อน คิดเป็น 90.
ส่วนการจ้างงานไตรมาส 2 ปรับตัวดีขึ้น มีผู้มีงานทำทั้งสิ้น 39.7 ล้านคน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกับปีก่อน 1.7% โดยเป็นการขยายตัวของแรงงานนอกภาค เกษตร 2.5% จากสาขาโรงแรม และภัตตาคาร ชั่วโมงการทำงานรวมเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 42.7 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ค่าจ้างแรงงานปรับตัวดีขึ้นมาอยู่ที่ 14,032 บาทต่อคนต่อเดือน ขณะที่อัตราการว่างงานมีแนวโน้มดีขึ้น อยู่ที่ 1.06%
ด้าน น.ส.วรวรรณ พลิคามิน รองเลขาธิการ สศช. กล่าวเพิ่มเติมว่า สศช.ได้จัดทำรายงานพิเศษเรื่อง หนี้สินคนไทย : ภาพสะท้อนจากข้อมูลเครดิตบูโร โดยนำข้อมูลของบริษัทข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จำกัด มาวิเคราะห์ โดยสถานการณ์หนี้ครัวเรือนไตรมาส 1/2566 มีมูลค่า 12.9 ล้าน ล้านบาท และมีข้อมูลที่น่าสนใจว่าสัดส่วนหนี้เสียต่อสินเชื่อรวมอยู่ที่ 7.6% หรือ 980,000 ล้านบาท หากนับรวมสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ ลิสซิ่ง บริษัทบัตรเครดิต และผู้ให้กู้อื่นๆ แต่หากพิจารณาจากหนี้เสียที่ ธปท.
ทั้งนี้ พบกลุ่มลูกหนี้ที่ต้องให้ความสนใจพิเศษ คือ คนเจนวาย อายุ 23-38 ปี ซึ่งส่วนใหญ่มีทัศนคติว่า ของมันต้องมี ซึ่ง 50% ของคนเจนวายที่มีเงินไม่เพียงพอแต่เลือกกู้ยืมจากธนาคารหรือใช้บัตรเครดิตในการจ่าย และ 70% มีการผ่อน ชำระสินค้าและบริการแบบเสียดอกเบี้ยในอัตราสูง ทำให้มีแนวโน้มสะสมหนี้สินมากขึ้นและติดกับดักหนี้ ขณะที่กลุ่มผู้สูงอายุพบว่าการขยายตัวของหนี้เสียระหว่างปี 2563-2565 เพิ่มมากขึ้นกว่ากลุ่มอื่น โดยเฉลี่ยที่ 10.
“การแก้ปัญหาควรมีแนวทาง 1.ขยายสมาชิกเครดิตบูโร โดยมีมาตรการจูงใจให้ผู้ให้สินเชื่อทุกกลุ่มเข้าเป็นสมาชิก เช่น งดเว้นเก็บค่าธรรมเนียมแรกเข้า และกำหนดให้ผู้ให้สินเชื่อต้องใช้ข้อมูลของ NCB ประกอบทุกครั้ง 2.มีการกำกับดูแลให้ผู้ให้บริการสินเชื่อทำตามเกณฑ์การให้สินเชื่ออย่างรับผิดชอบและเข้มงวด 3.หน่วยงานรัฐต้องส่งเสริมให้เกิดการปรับโครงสร้างหนี้ที่สอดคล้องกับศักยภาพลูกหนี้ 4.ปลูกฝังความรู้ทางการเงิน และวินัยทาง การเงินในทุกช่วงวัย 5.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
คนไทยหนี้พุ่ง ! ผู้สูงอายุ-เจนวายน่าห่วงสศช.เผยพิษโควิดทำคนไทยหนี้พุ่งยอดค้างชำระ 1-3 เดือนแตะ 5.2 แสนล้านบาท ทั้งบ้าน-รถยนต์-สินเชื่อบุคคล-บัตรเครดิต กลุ่มผู้สูงอายุ-เจนวายอาการน่าเป็นห่วง
อ่านเพิ่มเติม »
สศช. เปิดตัวเลขหนี้ภาคเอกชนไทย ยังพุ่งทะยาน 171.2% ต่อจีดีพีสศช. เปิดรายงานตัวเลขหนี้เอกชนไทย ยังพุ่งสูงกว่าช่วงก่อนเกิดโควิด โดยอยู่ที่ระดับ 171.2% ต่อจีดีพี สูงกว่าค่าเฉลี่ยภูมิภาค พร้อมจับตาหนี้เสีย ยังอยู่ในระดับสูง เช็คข้อมูลทั้งหมดรวมไว้ที่นี่
อ่านเพิ่มเติม »
สศช.เปิดข้อมูลวัยเริ่มทำงานกู้แหลก 'ของมันต้องมี' เสี่ยงเจอหนี้ท่วมหัวสศช. เปิดข้อมูลหนี้สินครัวเรือน พบข้อมูลหนี้กลุ่มวัยแรงงานตอนต้น อายุต่ำกว่า 30 ปี ต้องเฝ้าระวังส่วนใหญ่มีทัศนคติ “ของมันต้องมี” เงินไม่พอ ชอบกู้เงินธนาคาร-บัตรเครดิตใช้จ่าย เสี่ยงหนักติดกับดักหนี้
อ่านเพิ่มเติม »
สศช. ปัดขึ้นภาษีแวต 10% แค่แนวคิด ยังไม่มีข้อเสนอชงรัฐบาลใหม่เลขาธิการ สศช. ยันข้อเสนอการปรับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภาษีแวต) เป็น 10% เป็นแค่เพียงแนวคิดจากเวทีสัมมนา ยังไม่มีการเสนอให้ใครพิจารณา รับยังมีระเบียบ และข้อกฎหมายอื่น ๆ ที่ต้องปรับปรุง
อ่านเพิ่มเติม »
พิษโควิด ทำคนไทยหนี้ พุ่ง 12.9 ล้านล้านบาทสศช. เผยผลพวงโควิด ทำครัวเรือนไทยหนี้พุ่ง ยอดชำระหนี้ค้างชำระ 1-3 เดือน ทะยานกว่า 5.2 แสนล้านบาท สินเชื่อบ้าน-รถยนต์-สินเชื่อบุคค มีปัญหามากสุด ผู้สูงอายุมีก่อหนี้เสียเพิ่มขึ้
อ่านเพิ่มเติม »
'สภาพัฒน์' ย้ำไม่มีแนวคิดปรับขึ้น VAT เป็น 10% ขณะที่เงินดิจิทัลต้องพิจารณารายละเอียดรอบด้าน'สภาพัฒน์' ย้ำไม่มีแนวคิดปรับขึ้น VAT เป็น 10% ขณะที่เงินดิจิทัลต้องพิจารณารายละเอียดรอบด้าน นายดนุชา พิชยนันท์ เลขาธิการสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) หรือสภาพัฒน์ กล่าวถึงกรณีทีมีการนำเสนอว่าสภาพัฒน์เสนอแนวทางการปรับภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) จาก 7% เป็น 10% โดยนำเงินส่วนต่าง 3% มาจัดการในเรื่องของคนสูงวัยว่า ขอยืนยันว่าเป็นเพียงแนวทางการหารือในงานสัมมนาในเรื่องของสังคมค้างรุ่นที่ผ่านมา โดยสภาพัฒน์ยังไม่ได้มีการนำเสนอแผนหรือแนวคิดเรื่องดังกล่าวต่อหน่วยงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้องแต่อย่างใด “การพูดเรื่องการปรับเพิ่มแวตเพื่อนำมารองรับสังคมสูงวัยเป็นการพูดถึงข้อเสนอที่เคยมีในเรื่องนี้เป็นไอเด
อ่านเพิ่มเติม »