บทความนี้จะทดลองนำเสนอภาพรวมของปัญหากรณีตากใบ อันเป็นประเด็นร้อนที่ปรากฎในสื่ออย่างต่อเนื่องในเวทีการเมืองที่กรุงเทพฯ ก่อนที่คดีดังกล่าวจะหมดอายุความ ขณะเดียวกัน จากปัญหาที่เกิดขึ้นนั้น ก็สะท้อนให้เห็นถึงสิ่งที่เป็น “บทเรียน” ได้เป็นอย่างดี
1) การประท้วงที่เกิดขึ้นในกรณี ตากใบ เป็น “ปัญหาความมั่นคง” อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เนื่องจากเป็น “คลื่นความรุนแรงลูกที่ 3” ของการก่อเหตุชุดใหม่ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ในปี 2547 ที่เริ่มด้วยเหตุการณ์ปล้นปืนในเดือนมกราคม ตามมาด้วยเหตุการณ์การปะทะที่มัสยิดกรือแซะในเดือนเมษายน และต่อมาด้วยเหตุการณ์ที่หน้าสถานีตำรวจภูธร อ. ตากใบ ในเดือนตุลาคม เหตุการณ์ทั้ง 3 มีความเกี่ยวเนื่อง และเป็นกระแสความรุนแรงชุดเดียวกันของความพยายามที่จะขับเคลื่อนสถานการณ์ใน 3 จ.
2) ในการชุมนุมประท้วงที่หน้าสถานีตำรวจภูธรอำเภอตากใบ อาจเทียบเคียงได้กับการชุมนุมต่อต้านทหารที่เกิดก่อนหน้านั้นที่ปานาแระ และที่สุไหงปาดี ซึ่งมีวัตถุประสงค์ชัดเจนในการต่อต้านทหาร และกดดันเจ้าหน้าที่ให้ออกจากพื้นที่ พร้อมกับการปล่อยข่าวลือเรื่องทหารทำร้ายประชาชนชาวมุสลิม7) จากปัญหาความรุนแรงชุดใหม่ที่เกิดในจ.ชายแดนใต้ ที่เริ่มจากเหตุปล้นปืนในวันที่ 4 ม.ค.2547 จนถึงปัจจุบัน ต้องยอมรับว่า เป็นภาพสะท้อนที่ชัดเจนของการต่อสู้ระหว่าง “รัฐไทย vs.
15) การแสดงความรับผิดชอบที่สำคัญในความเป็นรัฐบาลในการจัดการปัญหาการเสียชีวิตกรณีตากใบใน 7 ลักษณะ คือ การตั้งคณะกรรมการอิสระ เพื่อแสวงหาความจริงในสมัยรัฐบาลนายกฯ ทักษิณ ชินวัตร การประกาศขอโทษในสมัยรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ การนำคดีเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมถึง 4 ศาล การใช้กระบวนการยุติธรรมสมานฉันท์เพื่อไกล่เกลี่ยและคลี่คลายคดี โดยรัฐเป็นฝ่ายประนีประนอม ทั้งการถอนฟ้องแกนนำ และการจ่ายค่าเสียหายทางแพ่ง ให้มีการไต่สวนคดีการเสียชีวิตของผู้ชุมนุม ดำเนินในศาลถึง 5 ปี หลังจากคดีไต่สวนการเสียชีวิตสิ้นสุดลง จึงเข้าสู่กระบวนการเยียวยาแก่ผู้เสียหายและครอบครัวในสมัยรัฐบาลนายกฯ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และ...
ที่รัฐมีท่าทีประนีประนอมยอมความ เพื่อให้คดียุติโดยไม่ใช่การพิสูจน์ “คนถูก-คนผิด” ในแบบปกติ และทั้งไม่ใช้ข้ออ้างถึงอำนาจคุ้มครองการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ประกาศกฎอัยการศึกแต่อย่างใด เพราะพื้นที่ที่เกิดเหตุนั้น เป็นพื้นที่ภายใต้กฎอัยการศึก ซึ่งการฟ้องคดีตามปกติอาจจะทำไม่ได้ แต่รัฐก็มิได้ใช้สิทธิ์ทางกฎหมายนี้ แนวทางนี้ จึงสะท้อนถึงการประนีประนอม ซึ่งควรกำหนดเป็นทิศทางหลักของการอำนวยความยุติธรรมในพื้นที่ภาคใต้ ดังจะเห็นจากสถิติว่าจากปี 2547- ส.ค.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
จับตา'แพทองธาร' ดินเนอร์พรรคร่วม'ครั้งแรก หลากประเด็นร้อน รอเคลียร์ใจเช็กท่าทีแกนนำ 'ภูมิธรรม' ยอมรับหลายพรรคเห็นต่าง พ.ร.บ.นิรโทษ แต่มีเวทีเฉพาะพูดคุยอยู่แล้ว ด้าน 'พริษฐ์' พรรคประชาชน ร่วมเกาะติด 6 ประเด็น การหารือพรรรคร่วมรัฐบาลคืนนี้ จะได้ข้อสรุปหรือไม่
อ่านเพิ่มเติม »
นายกฯ 'แพทองธาร' ชู 4 ประเด็น ปลุกเศรษฐกิจรับการเติบโต“แพทองธาร” นายกรัฐมนตรี ชูโอกาสไทยและอาเซียน 4 ประเด็น ปลุกรับโอกาสเติบโต ชี้ไทยมีโอกาสรับการลงทุนทั้ง AI ดาต้าเซนเตอร์ เสนอตัวเป็นคลังความมั่นคงทางอาหารของโลก พร้อมใช้เวทีอาเซียนหนุนสันติภาพในเมียนมา ยืนยันบทบาทอาเซียนเป็นพื้นที่เติบโตรับการลงทุน
อ่านเพิ่มเติม »
ขายตรงหรือฉ้อโกง?ประเด็น 'ดิไอคอนกรุ๊ป' ที่กำลังร้อนฉ่าอยู่ขณะนี้ ซึ่งทำให้ประชาชนได้รับความเดือดร้อนจำนวนมาก สูญเสียเงินหลายร้อยล้านบาท แล้วเกิดการสงสัยว่า “เป็นการขายตรงหรือฉ้อโกง” กันแน่
อ่านเพิ่มเติม »
ผ่างบ 68 จัดเต็ม 5.37 แสนล้าน ปั๊มรายได้คนไทย ชู ”ดิจิทัลวอลเล็ต” พระเอกผ่ารายละเอียดงบประมาณปี 2568 ตั้งแผนใช้ตามนโยบายรัฐบาล 142 ประเด็น กว่า 2.6 ล้านล้านบาท จับตาจัดวงเงินกว่า 5.37 แสนล้านบาท สร้างรายได้ให้ผ่านโครงการแจกเงินดิจิทัลวอลเล็ต เป็นพระเอกหลัก
อ่านเพิ่มเติม »
แจงดราม่า! งานตักบาตรพระ 1 พันรูป ปล่อยนั่งตากแดด โยนออแกไนซ์รับผิดจังหวัดนครพนม ได้รายงานข้อเท็จจริง กรณีงาน 'มหาบุญแห่งศรัทธานครพนม' โดยตามที่ปรากฏข่าวบนสื่อสังคมออนไลน์ ประเด็น 'ทัวร์ลงยับ นิมนต์พระ 1 พันรูป ปล่อยนั่งตากแดด' เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2567 ที่ผ่านมานั้น
อ่านเพิ่มเติม »
วันสุขภาพจิตโลก 2567 ปรับ Mindset ปลดล็อกใจทุก (ข์) มนุษย์ออฟฟิศปัญหา 'สุขภาพจิต' มักถูกตีตราในสังคม การสร้างความเข้าใจ ให้ความรู้ จะช่วยลดอคติที่มีต่อผู้ประสบปัญหาสุขภาพจิตได้ ธีมวันสุขภาพจิตโลกปี 2567 เน้นเรื่องสุขภาพจิตในที่ทำงาน การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างหัวหน้า-พนักงาน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพการทำงานสูงสุด วันสุขภาพจิตโลก (World Mental Health Day) ก่อตั้งขึ้นโดยองค์การอนามัยโลก (WHO)...
อ่านเพิ่มเติม »