อดีตผอ.วิจัย ลิเวอร์พูล เผยยังใช้แนวทางเดิมตอนซิว นูนเญซ

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

อดีตผอ.วิจัย ลิเวอร์พูล เผยยังใช้แนวทางเดิมตอนซิว นูนเญซ
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 siamsport_news
  • ⏱ Reading Time:
  • 54 sec. here
  • 2 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 25%
  • Publisher: 63%

เอียน แกรห์ม อดีตผู้อำนวยการฝ่ายวิจัยของ ลิเวอร์พูล ระบุ ตอนเซ็น ดาร์วิน นูนเญซ พวกเขายังเสริมทัพแบบที่เน้นจากข้อมูลเรื่องฟอร์มเป็นหลัก หลังจาก นูนเญซ มีผลงานโดยรวมไม่น่าประทับใจเท่าไหร่

แกรห์ม เผยว่า"นูนเญซ เคยเล่นได้ดีตอนเจอกับ ลิเวอร์พูล และนั่นส่งผลกับหลายคน การที่เขากลายมาเป็นนักเตะ ลิเวอร์พูล มันไม่ได้ส่งผลเสียต่อใครทั้งนั้น สิ่งที่ยุ่งยากของ นูนเญซ ก็คือเขาเป็นนักเตะที่ต่างจาก ฟีร์มีโน่ และคำถามของผมก็คือ -เราจะเปลี่ยนสไตล์การเล่นหรือระบบของเราเพื่อเขารึเปล่า ? เขาดีพอที่อาจจะคุ้มค่าที่จะทำให้เราทำการเปลี่ยนแปลงสิ่งต่างๆ หรือไม่ ?-...

"เราวิเคราะห์ นูนเญซ ด้วยการใช้กระบวนการวิเคราะห์ข้อมูลแบบเดียวกับที่ทำกับนักเตะคนอื่นๆ ผมอยากทำให้มั่นใจว่าทุกคนจะรู้ว่ามันจะเปลี่ยนไปจากเดิมมากแค่ไหนกับการเอา นูนเญซ มาเล่นกับทีม อารมณ์มันจะประมาณว่า -เราจะทำให้เขาเล่นด้วยฟอร์มที่ดีที่สุดได้เหรอ ?-" "ในหนังสือน่ะผมพูดเกี่ยวกับการแจ้งกับนักเตะแต่ละคนเพื่อทำให้พวกเขารู้ว่าบทบาทของแต่ละคนจะเป็นแบบไหน มันต่างจากการบอกว่าพวกเขาเล่นได้ดีรึเปล่า เรามีลิสต์รายชื่อนักเตะแบบว่า -เขาเก่งน่ะ แต่ไม่เหมาะกับ ลิเวอร์พูล- คนในลิสต์นั้นมีทั้งพวกฟูลแบ็กที่เก่งเกมรับ, กองหน้าตัวเป้า, ปีกที่โยนบอลเก่งๆ ฯลฯ แต่เราไม่ได้เล่นด้วยสไตล์นั้น"

"มันเห็นได้ชัดว่า นูนเญซ คือกองหน้าตามแบบฉบับของพวกเบอร์ 9 ผมคงจะไม่บอกหรอกว่าข้อมูลมันไม่ได้สื่อว่า นูนเญซ เป็นนักเตะสไตล์นั้น อารมณ์มันเหมือนกับว่า -ถ้าเราจะซื้อนักเตะคนนี้แล้ว เราก็ต้องเข้าใจว่านี่เป็นบทบาที่เรามองว่าเขาจะเล่นได้ดี และในขุมกำลังของเรามีที่ว่างให้กับเขารึเปล่า ?- และเมื่อคุณทุ่มเงินไปเยอะกับนักเตะคนใดคนหนึ่งแล้ว เขาก็ต้องได้ลงเล่นเป็นตัวจริงเป็นธรรมดา สิ่งที่เลวร้ายที่สุดก็คือคุณซื้อนักเตะที่เป็นเพียงอะไหล่เข้ามาทั้งที่จริงๆ...

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

siamsport_news /  🏆 26. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

'อว.-บพค.' ยกระดับประเทศไทยชูวิทยาศาสตร์ วิจัย-นวัตกรรมพัฒนาบุคคลากร'อว.-บพค.' ยกระดับประเทศไทยชูวิทยาศาสตร์ วิจัย-นวัตกรรมพัฒนาบุคคลากร'อว.-บพค.' ยกระดับประเทศไทยชูวิทยาศาสตร์ วิจัย-นวัตกรรมพัฒนาบุคคลากร มุ่งตอบโจทย์ความต้องการของอุตสาหกรรมเป้าหมายในอนาคต เดินหน้าเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของไทยบนเวทีโลก
อ่านเพิ่มเติม »

กมธ. ยังติดใจตัวเลขส่งออก 'ปลาหมอคางดำ' ลงระบบผิดพลาด 212 ครั้งกมธ. ยังติดใจตัวเลขส่งออก 'ปลาหมอคางดำ' ลงระบบผิดพลาด 212 ครั้งการประชุมคณะกรรมาธิการการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (กมธ.อว.
อ่านเพิ่มเติม »

ดีพร้อม ผนึกกำลัง GISTDA ติดปีกอุตสาหกรรมอนาคต ด้วยเศรษฐกิจอวกาศ จับมือสองกระทรวงขับเคลื่อนอุตสาหกรรมไทยสู่โลกอนาคตดีพร้อม ผนึกกำลัง GISTDA ติดปีกอุตสาหกรรมอนาคต ด้วยเศรษฐกิจอวกาศ จับมือสองกระทรวงขับเคลื่อนอุตสาหกรรมไทยสู่โลกอนาคตกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือ ดีพร้อม (DIPROM) กระทรวงอุตสาหกรรม ผนึกกำลัง สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ GISTDA กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม
อ่านเพิ่มเติม »

กรมปศุสัตว์อนุรักษ์ วิจัย และพัฒนาพันธุ์โคชน เพิ่มมูลค่า สู่สัตว์เศรษฐกิจแสนล้านกรมปศุสัตว์อนุรักษ์ วิจัย และพัฒนาพันธุ์โคชน เพิ่มมูลค่า สู่สัตว์เศรษฐกิจแสนล้านศูนย์วิจัยและบำรุงพันธุ์สัตว์ตรัง สำนักพัฒนาพันธุ์สัตว์ กรมปศุสัตว์ เป็นหนึ่งในหน่วยงานหลักในการอนุรักษ์ วิจัย และพัฒนาพันธุ์โคพื้นเมืองภาคใต้ หรือโคชน เพื่อการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน โดยมีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลลักษณะทางเศรษฐกิจที่สำคัญ ของโคพื้นเมืองภาคใต้ ศึกษาวิจัยปรับปรุงพันธุ์ การเลี้ยงการจัดการฝูง และผลิตลูกโคเนื้อ เพื่อกระจายสัตว์พันธุ์ดี...
อ่านเพิ่มเติม »

NIA ดึง 7 หน่วยงานลงนามร่วมยกระดับระบบนิเวศนวัตกรรมไทย สร้างเครือข่ายความร่วมมือในงาน SITE2024NIA ดึง 7 หน่วยงานลงนามร่วมยกระดับระบบนิเวศนวัตกรรมไทย สร้างเครือข่ายความร่วมมือในงาน SITE2024กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.
อ่านเพิ่มเติม »

NIA ดึง 7 หน่วยงานลงนามร่วมยกระดับระบบนิเวศนวัตกรรมไทย สร้างเครือข่ายความร่วมมือในงาน SITE2024NIA ดึง 7 หน่วยงานลงนามร่วมยกระดับระบบนิเวศนวัตกรรมไทย สร้างเครือข่ายความร่วมมือในงาน SITE202422 กรกฎาคม 2567 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-03 05:30:27