หุ้นไทยแนวโน้มดัชนีเช้ารีบาวด์หลังร่วงแรง-กลุ่ม Domestic play หนุนหลัง GDP สหรัฐต่ำคาด : อินโฟเควสท์

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

หุ้นไทยแนวโน้มดัชนีเช้ารีบาวด์หลังร่วงแรง-กลุ่ม Domestic play หนุนหลัง GDP สหรัฐต่ำคาด : อินโฟเควสท์
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 InfoQuestNews
  • ⏱ Reading Time:
  • 19 sec. here
  • 2 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 11%
  • Publisher: 68%

หุ้นไทยแนวโน้มดัชนีเช้ารีบาวด์หลังร่วงแรง-กลุ่ม Domestic play หนุนหลัง GDP สหรัฐต่ำคาด SET ตลาดหุ้นไทย หุ้นไทย อินโฟเควสท์

นักวิเคราะห์ฯ คาดตลาดหุ้นไทยเช้านี้รีบาวด์ทางเทคนิค หลังวานนี้ปรับตัวลงแรง จากหุ้น DELTA ฉุด ซึ่งน่าจะสะท้อนพื้นฐานไปแล้ว และน่าจะได้แรงหนุนจากหุ้นกลุ่ม Domestic play เช่น กลุ่มไฟแนนซ์ หลังตัวเลข GDP สหรัฐออกมาต่ำคาด เป็นการคอนเฟิร์มแนวโน้มดอกเบี้ยใกล้ถึงจุดพีคแล้ว ให้แนวรับไว้ที่ 1,520 จุด และแนวต้าน 1,540 จุด

นายภูวดล ภูสอดเงิน นักวิเคราะห์การลงทุนปัจจัยพื้นฐานด้านตลาดทุน บล.บัวหลวง กล่าวว่า ตลาดหุ้นไทยเช้านี้คาดรีบาวด์ทางเทคนิค หลังวานนี้ปรับตัวลงแรงจากหุ้น DELTA ฉุด ขณะที่คาดว่าจะได้แรงหนุนจากหุ้น Domestic play เช่น กลุ่มไฟแนนซ์ หลังกระทรวงพาณิชย์สหรัฐเปิดเผยตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ขยายตัวเพียง 1.1% ในไตรมาส 1/66 ซึ่งต่ำกว่าที่นักวิเคราะห์คาดการณ์ที่ระดับ 2.

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

InfoQuestNews /  🏆 7. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

ทองปิดบวก $3 นลท.ซื้อสินทรัพย์ปลอดภัยหลัง GDP ต่ำกว่าคาด : อินโฟเควสท์ทองปิดบวก $3 นลท.ซื้อสินทรัพย์ปลอดภัยหลัง GDP ต่ำกว่าคาด : อินโฟเควสท์สัญญาทองคำตลาดนิวยอร์กปิดบวกในวันพฤหัสบดี (27 เม.ย.) โดยนักลงทุนเข้าซื้อทองคำในฐานะสินทรัพย์ที่ปลอดภัย หลังสหรัฐเปิดเผยตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ที่ต่ำกว่าคาดในไตรมาส 1 ปีเตอร์ แกรนท์ นักวิเคราะห์จากบริษัท Zaner Metals กล่าวว่า นักลงทุนเข้าซื้อทองคำซึ่งเป็นสินทรัพย์ปลอดภัย หลังสหรัฐเปิดเผยตัวเลข GDP ไตรมาส 1/2566 ขยายตัวเพียง 1.1% ซึ่งต่ำกว่าการคาดการณ์ที่ระดับ 2.0% และบ่งชี้ว่าเศรษฐกิจสหรัฐมีความเสี่ยงที่จะเข้าสู่ภาวะถดถอย ทั้งนี้ แกรนท์คาดการณ์ว่า วิกฤตการณ์ในภาคธนาคารของสหรัฐ ประกอบกับเศรษฐกิจที่มีความเสี่ยงถดถอย อาจจะส่งผลให้ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) ชะลอความแรงในการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย ซึ่งจะเป็นปัจจัยหนุนราคาพุ่งขึ้นทำนิวไฮ นักลงทุนจับตาการเปิดเผยดัชนีราคาการใช้จ่ายเพื่อการบริโภคส่วนบุคคล (PCE) เดือนมี.ค.ของสหรัฐในวันนี้ โดยดัชนี PCE เป็นข้อมูลเงินเฟ้อสำคัญตัวสุดท้ายก่อนที่เฟดจะจัดการประชุมนโยบายการเงินในวันที่ 2-3 พ.ค. ดัชนี PCE ถือเป็นมาตรวัดเงินเฟ้อที่เฟดให้ความสำคัญ โดยสามารถตรวจจับการเปลี่ยนแปลงในพฤติกรรมของผู้บริโภค และครอบคลุมราคาสินค้าและบริการในวงกว้างมากกว่าดัชนีราคาผู้บริโภค (CPI) โดย สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (28 เม.ย. 66) Facebook iconFacebookTwitter iconTwitterLINE iconLine
อ่านเพิ่มเติม »

แบงก์ออฟอเมริกาหั่นคาดการณ์ GDP เกาหลีใต้ปี 66 เหตุภาคเทคโนโลยีชะลอตัว : อินโฟเควสท์แบงก์ออฟอเมริกาหั่นคาดการณ์ GDP เกาหลีใต้ปี 66 เหตุภาคเทคโนโลยีชะลอตัว : อินโฟเควสท์แบงก์ ออฟ อเมริกา (BofA) ปรับลดการคาดการณ์การขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ของเกาหลีใต้ในปี 2566 ลงสู่ระดับ 1.4% จากตัวเลขคาดการณ์เดิมที่ 1.9% เมื่อเทียบเป็นรายปี โดยระบุว่าเศรษฐกิจของเกาหลีใต้ยังคงเผชิญกับภาวะขาลงของอุตสาหกรรมเทคโนโลยี และผลกระทบจากอัตราดอกเบี้ยที่ปรับตัวสูงขึ้น นายเบนสัน อู๋ และนายทิม ฮิม โฮ นักเศรษฐศาสตร์ของ BofA กล่าวว่า “เราคาดว่าอัตราดอกเบี้ยที่สูงขึ้นจะบั่นทอนความสามารถในการใช้จ่ายของภาคครัวเรือน ซึ่งจะส่งผลให้การบริโภคเติบโตช้าลงในช่วงครึ่งหลังของปี 2566 นอกจากนี้ การชะลอตัวของอุตสาหกรรมเทคโนโลยีอาจส่งผลกระทบต่อการส่งออกและการลงทุนด้านสาธารณูปโภคในเกาหลีใต้ด้วย” สำนักงานสถิติแห่งชาติเกาหลีใต้รายงานว่า ตัวเลข GDP ไตรมาส 1/2566 ขยายตัว 0.3% เมื่อเทียบเป็นรายไตรมาส ซึ่งดีกว่าที่นักวิเคราะห์ของสำนักข่าวรอยเตอร์คาดไว้ว่าอาจจะขยายตัว 0.2% อย่างไรก็ดี นักวิเคราะห์มองว่าแนวโน้มเศรษฐกิจเกาหลีใต้ยังคงถูกบดบังจากการส่งออกที่ซบเซา อันเนื่องมาจากภาวะเศรษฐกิจทั่วโลกชะลอตัวลง แม้ว่าจีนเริ่มเปิดประเทศแล้วก็ตาม ขณะที่ธนาคารกลางเกาหลีใต้เปิดเผยในช่วงต้นเดือนเม.ย.ว่า การขยายตัวของเศรษฐกิจในปี 2566 จะอ่อนแอกว่าที่มีการคาดการณ์ไว้ก่อนหน้านี้ที่ 1.6% โดย สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (26 เม.ย. 66) Facebook iconFacebookTwitter […]
อ่านเพิ่มเติม »

เลือกตั้ง'66: ปชป. ชู 26 นโยบายยกระดับภาคเกษตร เพิ่มรายได้-GDP เกษตร ก้าวสู่ผู้นำอาหารโลก : อินโฟเควสท์เลือกตั้ง'66: ปชป. ชู 26 นโยบายยกระดับภาคเกษตร เพิ่มรายได้-GDP เกษตร ก้าวสู่ผู้นำอาหารโลก : อินโฟเควสท์นายอลงกรณ์ พลบุตร แกนนำพรรคประชาธิปัตย์ (ปชป.) แถลงวาระประเทศไทย ครั้งที่ 4 “ปชป. กับนโยบายเกษตร”ว่า พรรคได้กำหนดเป้าหมายของนโยบายเกษตรทันสมัยภายใต้วิสัยทัศน์ “เกษตรฐานราก เกษตรฐานโลก”และยุทธศาสตร์ตลาดนำการผลิต ให้ประเทศไทยต้องเป็นมหาอำนาจอาหารโลก Top 10 เกษตรกรมีรายได้สูงขึ้น 100% และ เพิ่ม GDP เกษตรเป็น 10% พรรคประชาธิปัตย์ จึงกำหนด 26 นโยบายสำคัญ เพื่อเป็นเครื่องมือในการยกระดับอัพเกรดภาคเกษตรสู่การบรรลุเป้าหมาย โดยกำหนด 3 กลยุทธ์ คือ เปลี่ยนเกษตรยากจนเป็นเกษตรร่ำรวย เปลี่ยนเกษตรดั้งเดิมสู่เกษตรทันสมัยรายได้สูง และเปลี่ยนเมืองเกษตรเป็นเมืองอาหาร นอกจากนี้ได้มีการวาง 5 ฐานรายได้ใหม่ ประกอบด้วย 1.สร้างฐานแปรรูปอุตเกษตรใหม่ ด้วยการเปลี่ยนเมืองเกษตรเป็นเมืองอาหาร ส่งเสริมการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมเกษตรอาหาร 18 กลุ่มจังหวัด และให้มีการเขตเศรษฐกิจเกษตรทุกจังหวัด 2.สร้างฐานรายได้ใหม่ ทั้งเกษตรอาหาร เกษตรพลังงาน เกษตรท่องเที่ยว เกษตรสุขภาพ 3.สร้างฐานตลาดใหม่ ยกระดับราคาสินค้าเกษตร ด้วยการสร้างตลาดออนไลน์ ตลาดประมูลออนไลน์และออฟไลน์ ขยายตลาดใหม่ๆในต่างประเทศ สร้างแต้มต่อด้วย […]
อ่านเพิ่มเติม »

ยิ่ง 'รวย' ยิ่งมีความสุข?! เมื่อบางประเทศที่ GDP สูง ผู้คนก็ยิ่งมีความสุขมากยิ่ง 'รวย' ยิ่งมีความสุข?! เมื่อบางประเทศที่ GDP สูง ผู้คนก็ยิ่งมีความสุขมากยิ่ง 'รวย' ยิ่งมี 'ความสุข' จริงไหม? เมื่อนักวิเคราะห์ทางสถิติได้คำนวณพบว่า ในบางประเทศที่มีค่า GDP ต่อหัวประชากรสูงขึ้น ส่งผลให้ผู้คนมีความสุขมากขึ้นตามไปด้วย อ่านต่อ: กรุงเทพธุรกิจ กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
อ่านเพิ่มเติม »

เงินเฟ้อออสซี่ชะลอตัวใน Q1 คาดผ่านจุดพีก-ลดแรงกดดันแบงก์ชาติขึ้นดอกเบี้ย : อินโฟเควสท์เงินเฟ้อออสซี่ชะลอตัวใน Q1 คาดผ่านจุดพีก-ลดแรงกดดันแบงก์ชาติขึ้นดอกเบี้ย : อินโฟเควสท์สำนักงานสถิติแห่งชาติออสเตรเลียรายงานในวันนี้ว่า ตัวเลขเงินเฟ้อในไตรมาส 1/2566 ของออสเตรเลียชะลอตัวลงจากระดับสูงสุดในรอบ 33 ปี เนื่องจากค่าครองชีพขยายตัวในอัตราต่ำสุดในรอบกว่า 1 ปี ขณะที่ตัวเลขเงินเฟ้อพื้นฐานปรับตัวลงสู่ระดับต่ำกว่าการคาดการณ์ ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าธนาคารกลางออสเตรเลียจะเผชิญแรงกดดันน้อยลงในการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย ทั้งนี้ ดัชนีราคาผู้บริโภค (CPI) ซึ่งเป็นมาตรวัดเงินเฟ้อจากการใช้จ่ายของผู้บริโภค ปรับตัวขึ้นเพียง 1.4% เมื่อเทียบเป็นรายไตรมาส สูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์เล็กน้อยที่ระดับ 1.3% เมื่อเทียบเป็นรายปี ดัชนี CPI ไตรมาส 1 อยู่ที่ระดับ 7% ชะลอตัวลงจากระดับ 7.8% ของช่วงเวลาเดียวกันในปีที่แล้ว แต่ก็สูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้เล็กน้อยที่ระดับ 6.9% ส่วนในเดือนมี.ค.เพียงเดือนเดียวนั้น ดัชนี CPI ปรับตัวขึ้น 6.3% เมื่อเทียบเป็นรายปี ซึ่งชะลอลงจากระดับ 6.8% ในเดือนก.พ. สำหรับดัชนี CPI พื้นฐานซึ่งเป็นตัวเลขเงินเฟ้อที่ตลาดจับตาใกล้ชิดนั้น เพิ่มขึ้น 1.2% ในไตรมาส 1 เมื่อเทียบเป็นรายไตรมาส และหากเทียบเป็นรายปี ดัชนี CPI พื้นฐานปรับตัวลงสู่ระดับ 6.6% ต่ำกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ระดับ […]
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-25 10:29:10