หมอห่วงเด็กเล็กป่วย 'ไข้เลือดออก' ซ้ำ เสี่ยงน้ำเหลืองรั่วออกนอกเส้นเลือด เด็กเป็นไข้เลือดออก ไข้เลือดออก ข่าวไทยพีบีเอส ข่าวที่คุณวางใจ ThaiPBSnews
เมื่อวันที่ 30 พ.ค.2566 พญ.ประอร สุประดิษฐ์ ณ อยุธยา หัวหน้าศูนย์โรคไข้เลือดออก สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี กรมการแพทย์ กล่าวถึงสถานการณ์ไข้เลือดออก ว่า สถานการณ์ไข้เลือดออกในประเทศไทยก่อนที่จะเกิดการระบาดของโควิด-19 มีการระบาดแบบปี เว้น 2 ปี โดยในปี 2562 มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจำนวนมาก จากนั้นปี 2563-2564 มีผู้ป่วยน้อยลง
หากเป็นการติดเชื้อจากไวรัส ไข้จะลดลงเองไม่เกิน 3-5 วัน แต่หากเป็นการติดเชื้อแบคทีเรีย ได้รับยาฆ่าเชื้อหรือยาปฏิชีวนะที่เหมาะสม ไข้ก็จะลดลงภายใน 2 วัน แต่หากอีก 2 วันไข้ไม่ลด แพทย์จะนัดติดตามดูอาการ ซึ่งในเคสที่สงสัยว่ามีโอกาสจะเป็นไข้เลือดออก อาจมีการเจาะเลือดติดตามซ้ำ หรือในบางคนที่มาจากพื้นที่ที่มีการระบาดมากของไข้เลือดออก หรือมีคนในบ้านป่วยเป็นไข้เลือดออกในช่วง 1 เดือนที่ผ่านมา ควรเฝ้าระวังเพราะมีโอกาสเป็นไข้เลือดออกได้...
ปัจจัยเสียงที่ทำให้น้ำเหลืองรั่วออกนอกเส้นเลือดคือ การติดเชื้อซ้ำ ถ้าในเด็กโดยเฉพาะเด็กเล็กหรือทารกอายุน้อยกว่า 1 ปี หรือเด็กที่มีโรคประจำตัว เป็นกลุ่มเสี่ยงที่มีโอกาสเสียชีวิตมากกว่าเด็กอื่นๆ
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
นักกีฏวิทยา ชี้ ปัจจัยโลกร้อน 'ยุงเพิ่มจำนวน-โตไว-ผสมพันธุ์เร็วขึ้น'5 เดือน 'ไข้เลือดออก' คร่า 17 ชีวิต ป่วยเกือบ 1.7 หมื่นคน ห่วงระบาดหนักช่วงกลางปี นักกีฏวิทยาชี้ ปัจจัยโลกร้อน เร่งยุงเพิ่มจำนวน-โตไว-ผสมพันธุ์เร็วขึ้น ไข้เลือดออก ข่าวไทยพีบีเอส ข่าวที่คุณวางใจ ThaiPBSnews
อ่านเพิ่มเติม »
ฤดูฝนนี้เตือน “ไข้เลือดออก” ระบาดหนักนพ.โอภาส การย์กวินพงศ์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข กล่าวถึงสถานการณ์โรคไข้เลือดออก โดยคาดว่าในเดือนมิ.ย.นี้ จะมีผู้ป่วยไข้เลือดออกเพิ่มสูงขึ้น หลังพบว่าตั้งแต่เดือนม.ค. 66 พบผู้ป่วยสะสม 1
อ่านเพิ่มเติม »
‘ไข้เลือดออก’ สธ.คาดมิ.ย.ปีนี้ ป่วยพุ่งสูงสุดในรอบ 3 ปี เสียชีวิตแล้ว 17 รายวันนี้ ( 30 พ.ค. 66 )นพ.โอภาส การย์กวินพงศ์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข กล่าวถึงสถานการณ์โรคไข้เลือดออก โดยคาดว่าในเดือน มิ.ย.นี้ จะมีผู้ป่วยไข้เลือดออกเพิ่มสูงขึ้น หลังพบว่าตั้งแต่เดือน
อ่านเพิ่มเติม »
ระวัง! สธ.เตือนไข้เลือดออกระบาด คาดตัวเลขป่วยพุ่ง มิ.ย.นี้สธ.คาดผู้ป่วยไข้เลือดออกเพิ่มสูงขึ้นในเดือน มิ.ย.นี้ ตั้งแต่ต้นปีพบป่วยแล้ว 16,650 คน ชี้อาการช่วงแรกวินิจฉัยยาก ใกล้เคียงโควิด-19 และไข้หวัดใหญ่ วันนี้ (29 พ.ค.2566) นพ.โอภาส การย์กวินพงศ์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) กล่าวถึงสถานการณ์โรคไข้เลือดออก โดยคาดว่าในเดือน มิ.ย.นี้ จะมีผู้ป่วยไข้เลือดออกเพิ่มสูงขึ้นตั้งแต่เดือน ม.ค.2566 พบผู้ป่วยสะสม 16,650 คน สูงกว่าปีที่ผ่านมาหลายเท่าตัว จากเดิมในปี 2562 พบการระบาดสูง และการระบาดลดลงช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา ก่อนกลับมาระบาดอีกครั้งในปีนี้ ซึ่งมีผู้เสียชีวิต 17 คน แบ่งเป็นผู้ชาย 7 คน ผู้หญิง 10 คน ในจำนวนนี้ผู้เสียชีวิตอายุน้อยสุด 2 ปี และอายุมากสุด 51 ปี ปัจจัยการเสียชีวิตส่วนใหญ่ เป็นผู้สูงอายุ คนที่มีโรคประจำตัว มีภาวะอ้วน รวมถึงการวินิจฉัยที่ล่าช้า และแนวโน้มการป่วยพบในผู้ใหญ่มากกว่าเด็กลักษณะอาการไข้เลือดออก ในช่วงแรกจะวินิจฉัยได้ยาก เพราะมีอาการคล้ายโควิด-19 และไข้หวัดใหญ่ ทำให้ผู้ป่วยมักไปซื้อยามากินเอง ซึ่งยาที่ห้ามกินหากป่วยเป็นไข้เลือดออกคือ กลุ่มยาแอสไพริน และยาไอบรูโพรเฟน เนื่องจากเป็นกลุ่มยาที่ทำให้กระตุ้นเกิดเลือดออกได้ง่ายขึ้นและเสียชีวิตได้อาการป่วยไข้เลือดออก เช่น ไข้สูงช่วง 3 วันแรก จากนั้นในวันที่ 4 ไข้ลดลง มีผิวแดง หน้าแดง ตาแดง ผิวแห้งและหิวน้ำบ่อย ชหากอาการไม่ดีขึ้นให้ไปพบแพทย์เพื่อตรวจหาไข้เลือดออกโดยเฉพาะ ซึ่งปัจจุบันเป็นการตรวจด้วยชุดตรวจเร็ว NS1 โดยการเจาะเลือดและสามารถรู้ผลในทันทีส่วนปัจจัยสำคัญในการแพร่ระบาดของไข้เลือดออก คือ แหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย สธ.จึงกำชับให้สาธารณสุขจังหวัดสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย โดยเฉพาะวัด โรงเรียน สถานที่ราชการ และโรงงานขณะที่จังหวัดที่มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสูงในช่วง 4 สัปดาห์ล่าสุด มี 5 จังหวัดแรกที่พบผู้ป่วยสูง ได้แก่ น่าน ตราด ชุมพร จันทบุรีและตาก ส่วน 10 จังหวัดพื้นที่เสี่ยงระบาด ได้แก่ ตาก ปทุมธานี สมุทรปราการ กรุงเทพมหานคร จันทบุรี ตราด ภูเก็ต สงขลา นราธิวาสและสตูล ซึ่งกรมควบคุมโรคได้แนะนำให้พื้นที่ดังกล่าวจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินโรคไข้เลือดออกสำหรับกรณีชาวกะเหรี่ยงบางกลอยที่เสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก นพ.โอภาส ระบุว่า ได้รับรายงานแล้ว ซึ่งเจ้าหน้าที่อยู่ระหว่างตรวจสอบรายละเอียดเพิ่มเติมอ่านข่าวอื่นๆ'ไข้เลือดออก' ระบาดปีนี้ป่วยแล้ว 1.5 หมื่นคน เสียชีวิต 13
อ่านเพิ่มเติม »
นักกีฏวิทยา ชี้ ปัจจัยโลกร้อน 'ยุงเพิ่มจำนวน-โตไว-ผสมพันธุ์เร็วขึ้น'5 เดือน 'ไข้เลือดออก' คร่า 17 ชีวิต ป่วยเกือบ 1.7 หมื่นคน ห่วงระบาดหนักช่วงกลางปี นักกีฏวิทยาชี้ ปัจจัยโลกร้อน เร่งยุงเพิ่มจำนวน-โตไว-ผสมพันธุ์เร็วขึ้น ไข้เลือดออก ข่าวไทยพีบีเอส ข่าวที่คุณวางใจ ThaiPBSnews
อ่านเพิ่มเติม »
WHO เตือนการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทำให้โรคที่ยุงเป็นพาหะ แพร่ระบาดหนักองค์การอนามัยโลก (WHO) เผยการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ การตัดไม้ทำลายป่า และการขยายตัวของเมือง เป็นสาเหตุหลักการระบาดของไวรัส ไข้เลือดออก เชื้อไวรัสซิกา และโรคชิคุนกุนยา หรือ โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ที่ระบาดอยู่ทั่วโลก . อ่านเพิ่มเติม :
อ่านเพิ่มเติม »