หมอมนูญมองต่างมุม “เรากังวล PM 2.5 มากไป” ปัญหานี้อยู่มานานเป็น 100 ปี การสั่งปิดไม่คุ้มค่าความเสียหายทางเศรษฐกิจ
นพ. มนูญ ลีเชวงวงศ์ แพทย์ทางด้านโรคระบบทางเดินหายใจ ได้ออกมาแสดงความเห็นเกี่ยวกับสถานการณ์ฝุ่น PM2.5 ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยระบุว่า ฝุ่น PM2.5 นั้นมีมานานแล้ว เมื่อย้อนหลังไป พ.ศ.2554 ตั้งแต่เริ่มมีการวัดค่าฝุ่น PM2.5 จะเห็นค่าฝุ่น PM2.5 อยู่ต่ำกว่าค่ามาตรฐานเดือนเมษายนถึงพฤศจิกายน และสูงกว่าค่ามาตรฐานเดือนธันวาคมถึงมีนาคมทุกปี ค่าฝุ่น PM2.5 แต่ละปีไม่ได้แย่ลง ทำไมค่าฝุ่น PM2.5 ถึงได้ขึ้นสูงกว่ามาตรฐานเฉพาะช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนมีนาคม ทั้ง ๆ ที่รถยนต์ก็วิ่งใน กทม.
ย้อนหลังไป 4 ปี ช่วงเดือนมกราคม 2564 ถ้ายังจำกันได้ มีปรากฏการณ์ที่ไม่เคยเห็นมาก่อน เนื่องจากมีการระบาดของโรคโควิด-19 ระลอกที่ 2 มีคำแนะนำให้คนอยู่บ้าน ทำงานที่บ้าน งดเดินทาง ทำให้ถนนโล่ง จำนวนรถยนต์ที่วิ่งบนท้องถนนใน กทม.ช่วงมกราคม 2564 ลดลงมากถึงร้อยละ 70 แต่ค่าฝุ่น PM2.5 ใน กทม.กลับไม่ลดลงฝุ่น PM2.5 นั้นมีมานานแล้ว เมื่อย้อนหลังไป พ.ศ.2554 ตั้งแต่เริ่มมีการวัดค่าฝุ่น PM2.5 จะเห็นค่าฝุ่น PM2.
ค่าฝุ่น PM2.5 ใน กทม.ขณะนี้อยู่ในระดับสีส้มต่อเนื่อง มีแนวโน้มว่า กทม.จะประกาศห้ามรถตั้งแต่ 6 ล้อขึ้นไปเข้าเขต กทม. สั่งปิดโรงเรียนใน กทม. และประกาศให้ทำงานที่บ้าน เพื่อลดการเดินทาง ลดการปล่อยฝุ่น PM2.5
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
สถานการณ์ฝุ่น PM 2.5 ในกรุงเทพมหานครศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศกรุงเทพมหานครรายงานว่าสถานการณ์ฝุ่น PM 2.5 ในบางพื้นที่ของกรุงเทพฯ เกินมาตรฐาน โดยมีค่า PM 2.5 อยู่ระหว่าง 29.5-43.8 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร
อ่านเพิ่มเติม »
วิกฤติฝุ่น PM 2.5 : โดนทดสอบฝีมือรัฐบาลสถานการณ์ฝุ่น PM 2.5 ในกรุงเทพฯ เริ่มหนักขึ้นทุกปี แม้รัฐบาลทหารจะปิดตัวไปแล้ว แต่ไทยก็ยังเผชิญวิกฤตฝุ่น PM 2.5 ทดสอบฝีมือรัฐบาลเพื่อไทย
อ่านเพิ่มเติม »
ฝุ่นพิษ PM 2.5 ฆาตกรเงียบ เบื้องหลังโรคหลอดลมอักเสบPM 2.5 ภัยเงียบที่ส่งผลกระทบร้ายแรงต่อสุขภาพ โดยเฉพาะ 'หลอดลมอักเสบ' ปัญหาใหญ่ในประชากรที่อาศัยในพื้นที่มลพิษสูง การรับมือต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ทั้งปรับพฤติกรรมส่วนบุคคล พัฒนาเทคโนโลยีลดมลพิษ แลบังคับใช้กฎหมายเพื่อควบคุมแหล่งกำเนิดฝุ่น ฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน หรือที่เรียกกันว่า PM 2.
อ่านเพิ่มเติม »
ผลกระทบฝุ่น PM 2.5 ต่อสุขภาพจิตกรมสุขภาพจิต แนะประชาชนปรับตัวรับมือฝุ่น PM 2.5 โดยเสนอวิธีคลายเครียดด้วยกิจกรรมในร่ม เนื่องจากฝุ่น PM 2.5 ส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตทั้งความเครียดวิตกกังวล นอนไม่หลับ และความหงุดหงิด
อ่านเพิ่มเติม »
วิจัย 'PM 2.5 พังทั้งเลือด พังทั้งค่าปอด'ผู้ใช้เพจ Health Performance Team โพสต์วิจัย 'PM 2.5 พังทั้งเลือด พังทั้งค่าปอด' ผู้วิจัยเก็บค่า VO2max เพื่อดูการพัฒนาของสมรรถภาพปอด และค่าเลือดเพื่อดูการทำงานของเม็ดเลือดขาว-เม็ดเลือดแดง ผลการทดลองพบว่า ฝุ่น PM 2.5 ที่ระดับสูง (102.33 µg/m³) ไม่พัฒนาค่าปอด แต่ระดับ PM 2.5 ที่ระดับต่ำ (83.44 µg/m³) พัฒนาระดับเม็ดเลือดขาว
อ่านเพิ่มเติม »
GISTDA เฝ้าติดตามฝุ่น PM 2.5 ผ่านแอป 'เช็คฝุ่น' พบกรุงเทพฯ 3 เขต เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพGISTDA รายงานสถานการณ์ฝุ่น PM 2.5 แบบรายชั่วโมง ผ่านแอป 'เช็คฝุ่น' พบกรุงเทพฯ 3 เขต (บางกอกใหญ่, คลองสาน, ธนบุรี) มีค่าฝุ่น PM 2.5 ระดับสีแดง เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ ส่วนภาคกลาง พบ 13 จังหวัดที่มีค่าฝุ่น PM 2.5 ระดับสีส้ม
อ่านเพิ่มเติม »