“ไพรินทร์ ชูโชติถาวร” หนุนนวัตกรรมปัญญาประดิษฐ์ ChatGPT รับอนาคตโลกการศึกษาไทย ต้องปรับตัวรับกับการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่การศึกษาแบบ 4.0 ChatGPT การศึกษาไทย ฐานเศรษฐกิจ
นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร ประธานกรรมการ บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำกัด ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง บริบทใหม่ประเทศไทย ก้าวไกลด้วยผู้นำเชิงนวัตกรรม ในงานสัมมนาวิชาการ LEADERSHIP FOR THAILAND IN THE NEXT CHAPTER จัดโดยคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยาเขตระยอง โดยระบุว่า
โลกปัจจุบันกำลังเปลี่ยนผ่านเข้าสู่การศึกษาแบบ 4.
ทั้งนี้ยังเห็นว่า การพัฒนาภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมจึงมีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่ง โดยผู้เข้าร่วมโครงการสัมมนาวิชาการ จะได้รับความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับผู้นำเชิงนวัตกรรม เพื่อนำมาปรับใช้ในองค์กร เพื่อยกระดับเศรษฐกิจของประเทศไทยในการแข่งขันกับชาติอื่นในโลก รวมถึงผู้เข้าร่วมจะได้แลกเปลี่ยนความรู้ และประสบการณ์ ระหว่างวิทยากรกับผู้เข้าร่วมการสัมมนาเพื่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ ๆ ด้วยนอกจากนี้ ภายในงาน ยังมีการจัดเสวนาวิชาการ หัวข้อ ผู้นำกับการใช้นวัตกรรมในการขับเคลื่อนธุรกิจ...
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
'บิ๊กตู่' ปลื้ม! Agodaยก 'กรุงเทพฯ' รั้งที่ 2 เมืองท่องเที่ยวยอดนิยมช่วงวาเลนไทน์โฆษกรัฐบาลเผย นายกฯ ปลื้ม Agoda เผยกรุงเทพฯ ติด Top 3 เมืองท่องเที่ยวยอดนิยมในช่วงวาเลนไทน์ พร้อมทั้งแต่งบทกวีถึงกรุงเทพฯ โดย ChatGPT เพื่อมอบเป็นของขวัญต้อนรับวาเลนไทน์
อ่านเพิ่มเติม »
ผูู้เชี่ยวชาญชี้ ‘ChatGPT’ อาจกระทบงาน-การเรียนรู้ของ นักเรียน นักศึกษาดร.ชัยพร ผู้เชี่ยวชาญชี้ ‘ChatGPT’ สุดยอดAI อัจฉริยะ ช่วยมนุษย์ค้นหาคำตอบ แต่อาจกระทบงาน การวัยเรียนรู้ ของนักเรียน นักศึกษา พบแล้วที่อเมริกา แชทบอท อัจฉริยะ ChatGPT นักศึกษา คมชัดลึกออนไลน์
อ่านเพิ่มเติม »
AI กับ Crypto เทรนด์ใหม่ หรือแค่การตอกย้ำพฤติกรรมเลวร้ายในตลาดคริปโทAI กับ Crypto เทรนด์ใหม่ หรือแค่การตอกย้ำพฤติกรรมเลวร้ายในตลาดคริปโทกระแส ChatGpt ทำให้เหรียญที่มีความเกี่ยวข้องกับ AI (ซึ่งส่วนใหญ่ยังไม่ได้เกี่ยวอะไรมากมายเล...
อ่านเพิ่มเติม »
'จี๋ตู้' สตาร์ตอัป EV จากจีนเล็งใช้เทคโนโลยีสไตล์ ChatGPT : อินโฟเควสท์จี๋ตู้ (Jidu) สตาร์ตอัปรถไฟฟ้า (EV) สัญชาติจีนระบุในวันอังคาร (14 ก.พ.) ว่า ผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับแชตจีพีที (ChatGPT) ของไป่ตู้นั้น จะถูกนำมาใช้ในรถยนต์ไฟฟ้าที่มีระบบช่วยขับ ทั้งนี้ จี๋ตู้ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากไป่ตู้และจีลี่ (Geely) กำลังใช้ระบบอะพอลโล (Apollo) ของไป่ตู้สำหรับส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งานในรถยนต์และเทคโนโลยีช่วยขับรถยนต์ โดยจี๋ตู้วางแผนที่จะส่งมอบรถยนต์ครั้งแรกในปีนี้ จี๋ตู้ระบุว่าจะใช้อะพอลโลกับผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับ ChatGPT ของไป่ตู้ ซึ่งมีชื่อเรียกในภาษาอังกฤษว่าเออร์นี (Ernie) โดยเทคโนโลยีทั้งสองชนิดนี้จะช่วยปรับปรุงการมีปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้งานกับรถยนต์ โดยรถยนต์อัจฉริยะของจี๋ตู้นั้นสามารถควบคุมด้วยเสียงได้ ไป่ตู้เปิดเผยคาดการณ์ในสัปดาห์ที่ผ่านมาว่า ในเดือนมี.ค.บริษัทจะเสร็จสิ้นการทดสอบ Ernie เป็นการภายใน ก่อนเปิดให้สาธารณชนทดลองใช้งาน สำนักข่าวซีเอ็นบีซีรายงานว่า จี๋ตู้เพิ่งเปิดโชว์รูมแห่งแรกในกรุงปักกิ่งไปเมื่อวานนี้ โดย สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (15 ก.พ. 66) Facebook iconFacebookTwitter iconTwitterLINE iconLine
อ่านเพิ่มเติม »
'Bing' ของไมโครซอฟท์มั่วข้อมูลผิดด้วยความมั่นใจจนแทบไม่มีใครสังเกตเห็น : อินโฟเควสท์ในการสาธิตการใช้งานเสิร์ชเอนจินบิง (Bing) ของไมโครซอฟท์ต่อหน้าสื่อมวลชนในสัปดาห์ที่ผ่านมานั้น Bing ได้ทำการวิเคราะห์รายงานผลประกอบการบริษัทแก๊ป (Gap) และลูลูเลมอน (Lululemon) ผลปรากฏว่า Bing ระบุตัวเลขบางส่วนผิดพลาด เมื่อเทียบกับรายงานฉบับจริง ขณะเดียวกันคำตอบอื่น ๆ ก็ดูเหมือนกุขึ้นมาเอง โดย Bing นั้นขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี AI เดียวกับที่สนับสนุนแชตบอตแชตจีพีที (ChatGPT) แต่เป็นเวอร์ชันที่ได้รับการอัปเกรดแล้ว “Bing ตอบคำถามบางข้อผิดไปโดยสิ้นเชิงในระหว่างการสาธิตการใช้งาน แต่ไม่มีใครสังเกตเห็น ทุกคนต่างกระโจนเข้าร่วมขบวนกระแสฮือฮาของ Bing” นายดมิทรี เบรเรตัน นักวิจัยอิสระระบุในเว็บไซต์ซับสแต็ก (Substack) เมื่อวันจันทร์ที่ 13 ก.พ. ขณะเดียวกันนายเบรเรตันได้ชี้ให้เห็นปัญหาเกี่ยวกับข้อเท็จจริงในการตอบคำถามเกี่ยวกับคุณสมบัติของเครื่องดูดฝุ่นและแผนการเดินทางไปยังเม็กซิโกในการสาธิตการใช้งาน Bing ของไมโครซอฟท์นอกเหนือไปจากการตอบคำถามเรื่องการเงินที่ผิดพลาด โดยนายเบรเรตันให้สัมภาษณ์กับสำนักข่าวซีเอ็นบีซีว่า แรกเริ่มเดิมทีเขาไม่ได้ตั้งใจมองหาข้อผิดพลาด ทว่ากลับค้นพบข้อผิดพลาดในช่วงที่เขาตรวจสอบข้อมูลเพื่อเขียนเปรียบเทียบการเปิดตัว AI จากไมโครซอฟท์และกูเกิล บรรดาผู้เชี่ยวชาญ AI เรียกปรากฏการณ์ดังกล่าวว่า “อาการประสาทหลอน” หรือแนวโน้มของเครื่องมือประเภทโมเดลภาษาขนาดใหญ่ (Large language model) ในการกุเรื่องขึ้นเอง โดยเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา กูเกิลได้เปิดตัว AI ประเภทเดียวกัน […]
อ่านเพิ่มเติม »