ส่องงานวิจัย ศิริกัญญา ตันสกุล สรุปความเหลื่อมล้ำ ในไทย ปี 2557 ฉายภาพผ่านโมเดล 10 หมู่บ้านจนสุดถึงรวยสุด SPRiNG ก้าวไกล เลือกตั้ง2566 ศิริกัญญาตันสกุล ศิริกัญญา พรรคก้าวไกล
” ชิ้นนี้อธิบายสภาพสังคมและเศรษฐกิจไทยในช่วงปี 2557 หรือเกือบ 10 ปีที่ผ่านมา ว่าในประเทศไทยมีครอบครัวทั้งหมด 22 ล้านครอบครัว หากอยากรู้ว่าความเหลื่อมล้ำหน้าตาเป็นอย่างไร ให้ลองสำรวจรายได้ของแต่ละครอบครัว แล้วจึงเรียงลำดับจากครอบครัวที่รายได้น้อยที่สุดไปหาครอบครัวที่รายได้สูงที่สุด ตั้งแต่ครอบครัวที่ 1 ไปจนถึงครอบครัวที่ 22 ล้าน
ส่วนหมู่บ้านที่ 1 ถึง 4 ก็มีรายได้ที่เพิ่มขึ้นมาตามลำดับแต่ยังอยู่ในฐานะรายได้เฉลี่ยที่ยากจน ส่วนหมู่บ้านที่ 5 ที่มีฐานะระดับกลางๆ ปรากฏว่ารายได้ครอบครัวในหมู่บ้านนี้เฉลี่ยราว 13,000 บาทต่อเดือน โดยแต่ละครอบครัวมีรายได้อยู่ระหว่าง 12,000 – 15,000 บาท หน้าตาของหมู่บ้านที่ 5 คงเทียบได้กับชุมชนในเมือง หรือเขตอุตสาหกรรม ซึ่งกลุ่มใหญ่ที่สุดราว 20% มีหัวหน้าครอบครัวทำอาชีพเสมียน หรือเป็นพนักงานขาย รองลงมา ประกอบอาชีพพ่อค้า แม่ค้า ซึ่งมีสัดส่วนพอๆ กันกับ หนุ่ม/สาวโรงงานอยู่ที่...
: ปัญหาความเหลื่อมล้ำในไทยในช่วงเวลานั้น ไม่ได้ดีขึ้นเลย จากเมื่อสามทศวรรษที่ผ่านมา 25 ปีที่ผ่านมา GDP ของไทยนั้นเพิ่มขึ้นเกือบ 4 เท่า แต่รายได้ส่วนที่ตกถึงครอบครัวไทยนั้นเพิ่มขึ้นเพียง 3 เท่า และยิ่งเมื่อดูเป็นรายหมู่บ้าน เราจะพบว่ารายได้ของแต่ละหมู่บ้านก็เพิ่มขึ้นไม่เท่ากัน รายได้ของหมู่บ้านที่ 10 นั้นโตขึ้นราว 3.