ส่องภารกิจหน่วยงานใหม่ กรมวิชาการเกษตร “CF&GHG”

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

ส่องภารกิจหน่วยงานใหม่ กรมวิชาการเกษตร “CF&GHG”
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 siamrath_online
  • ⏱ Reading Time:
  • 46 sec. here
  • 2 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 22%
  • Publisher: 63%

กองวิจัยพัฒนาพืชเศรษฐกิจใหม่และการจัดการก๊าซเรือนกระจกสำหรับภาคเกษตร นับว่าเป็นหน่วยงานใหม่ ที่จัดตั้งขึ้น ภายใต้ กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2566 ปีที่ผ่านมา โดยเป็นหน่วยงานที่ต้องการขับเคลื่อนให้เกิดการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในการผลิตพืช ซึ่งจะดำเนินงานทั้งในส่วนของการศึกษาวิจัยแนวทางในการลดก๊าซเรือนกระจก...

กองวิจัยพัฒนาพืชเศรษฐกิจใหม่และการจัดการก๊าซเรือนกระจกสำหรับภาคเกษตร นับว่าเป็นหน่วยงานใหม่ ที่จัดตั้งขึ้น ภายใต้ กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2566 ปีที่ผ่านมา โดยเป็นหน่วยงานที่ต้องการขับเคลื่อนให้เกิดการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในการผลิตพืช ซึ่งจะดำเนินงานทั้งในส่วนของการศึกษาวิจัยแนวทางในการลดก๊าซเรือนกระจก การพัฒนาวิธีดำเนินการเพื่อให้ได้คาร์บอนเครดิต และ การพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ในการจัดการ และเป็นผู้ตรวจประเมินและรับรองคาร์บอนเครดิตภาคการเกษตร...

"เรายอมรับว่า ทั้งสองชิ้นงานเป็นเรื่องใหม่ทั้งคู่ ยากทั้งสองชิ้นงาน พืชเศรษฐกิจใหม่ และก๊าซเรือนกระจกสำหรับภาคการเกษตร เพราะว่า พืชเศรษฐกิจใหม่ จะว่า มันง่าย ก็ง่าย จะว่ายากก็ยาก เนื่องจาก บางส่วนเป็นพืชเดิม บางส่วนเป็นพืชใหม่ เข้ามาอย่างเช่น พวกพืชที่มีโปรตีนสูง/โปรตีนทางเลือกอย่างเช่น ไข่ผำ ซึ่งดูเป็นเรื่องง่าย เพราะเป็นพืชที่อยู่กับเกษตรกร อยู่ในวิถีชุมชน และมีการเก็บเกี่ยวจากธรรมชาติมาปรุงอาหารรับประทาน มันมีประโยชน์สูงมาก แต่ว่ามีข้อจำกัดอยู่หลายส่วนโดยเฉพาะเรื่องของ...

ทั้งนี้ในการดำเนินงานเพื่อให้มีประสิทธิภาพในด้านที่เกี่ยวกับปัญหาฝุ่นควัน PM2.5 ทางกองใหม่ฯ ได้บูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในกรมวิชาการเกษตร อันได้แต่ สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1 เชียงใหม่ กองพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าพืช และสำนักนิติการ ดำเนินการเพื่อลดปัญหาฝุ่นควันภาคเกษตรอย่างเร่งด่วนตามนโยบายของท่านอธิบดี นายรพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ร.อ.

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

siamrath_online /  🏆 15. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

“ธรรมนัส” เร่งกู้วิกฤตแล้ง สั่งลงพื้นที่สำรวจช่วยเหลือชาวสวนผลไม้ทันที“ธรรมนัส” เร่งกู้วิกฤตแล้ง สั่งลงพื้นที่สำรวจช่วยเหลือชาวสวนผลไม้ทันที“ธรรมนัส” ห่วงใยชาวสวน เผชิญภัยแล้ง สั่ง “กรมวิชาการเกษตร-กรมส่งเสริมการเกษตร ปูพรมลงพื้นที่ เร่งสำรวจ พร้อมให้คำแนะนำแก้ไขปัญหาผลกระทบจากภัยแล้งของทุเรียน - ผลไม้อื่นๆ ทันที
อ่านเพิ่มเติม »

'ธรรมนัส' สั่ง 2 กรมใหญ่ลงพื้นที่ แนะสวนทุเรียน-ผลไม้ เอาตัวรอดช่วงภัยแล้ง'ธรรมนัส' สั่ง 2 กรมใหญ่ลงพื้นที่ แนะสวนทุเรียน-ผลไม้ เอาตัวรอดช่วงภัยแล้ง“ธรรมนัส” สั่ง 2 กรมใหญ่ “กรมวิชาการเกษตร-กรมส่งเสริมการเกษตร” ลงพื้นที่ให้คำแนะนำเกษตรกรแก้ไขปัญหาสวนทุเรียน-สวนผลไม้ เอาตัวรอดช่วงภัยแล้ง
อ่านเพิ่มเติม »

“มะพร้าวกะทิ” พืชเศรษฐกิจใหม่ รายได้งาม สูงสุดลูกละ 250 บาท“มะพร้าวกะทิ” พืชเศรษฐกิจใหม่ รายได้งาม สูงสุดลูกละ 250 บาทกรมวิชาการเกษตร ลุยวิจัยและพัฒนาปรับปรุงพันธุ์ “มะพร้าวกะทิ” พันธุ์แท้ รองรับการขยายตัวของตลาดมะพร้าวกะทิ หลังพบมีราคาสูงถึงลูกละ 150-250 บาท สร้างรายได้ใหม่ให้เกษตรกร
อ่านเพิ่มเติม »

กองวิจัยพัฒนาพืชเศรษฐกิจใหม่ และการจัดการก๊าซเรือนกระจกสำหรับภาคเกษตรกองวิจัยพัฒนาพืชเศรษฐกิจใหม่ และการจัดการก๊าซเรือนกระจกสำหรับภาคเกษตรสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เป็นปัญหาสำคัญระดับโลกในปัจจุบัน สาเหตุหลักมาจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมของมนุษย์ทั้งทางตรงและทางอ้อม ส่งผลให้อุณหภูมิโลกร้อนขึ้น และ สภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงไป ดังนั้นทุกๆ ประเทศทั่วโลกต่างตระหนักถึงปัญหาและร่วมหาทางแก้ไข กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์...
อ่านเพิ่มเติม »

“อันตรายต่อสิ่งแวดล้อม” และ “คำมั่นสัญญาของ Generative AI”“อันตรายต่อสิ่งแวดล้อม” และ “คำมั่นสัญญาของ Generative AI”Generative AI เป็นเทคโนโลยีใหม่ที่กำลังได้รับความนิยม แต่ได้กลายเป็นความกังวล เมื่อยูสเคสที่เหมือนจะดูดีและถูกขับเคลื่อนโดยเทคโนโลยีเกิดใหม่นี้กลับสร้างผลเสียมากกว่าผลดีในแง่ของการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (GHG) และปริมาณการใช้ไฟฟ้าและน้ำ?
อ่านเพิ่มเติม »

การก่อสร้างโดยใช้วัสดุชีวภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมได้อย่างไรการก่อสร้างโดยใช้วัสดุชีวภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมได้อย่างไรเพื่อให้ความคืบหน้าในการลดการปล่อยคาร์บอนในสภาพแวดล้อมที่สร้างขึ้น ซึ่งปัจจุบันมีส่วนทำให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (GHG) ประมาณ 35-40% ทั่วโลก เราจำเป็นต้องเข้าใจตัวเลขสำคัญบางประการ ประการแรกคือการจัดการกับคาร์บอนที่รวมอยู่ในตัวเป็นสิ่งสำคัญ
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-03 00:56:56