“นักเศรษฐศาสตร์” ประสานเสียงเตรียมลดประมาณการ GDP ปีนี้ เหตุส่งออกชะลอตัวกว่าที่คาด จากความขัดแย้งภูมิรัฐศาสตร์ ซ้ำเติมด้วยตั้งรัฐบาลล่าช้า “เอสซีบีอีไอซี-ศูนย์วิจัยกสิกรไทย” ชี้ อาจลดเหลือ 3% กลางๆ กรุงเทพธุรกิจ
สำหรับการปรับจีดีพี ส่วนหลักๆมาจากการชะลอลงของการส่งออก ซึ่งต้องขอดูการประกาศตัวเลขเศรษฐกิจของสภาพัฒน์ ที่ออกมาในสัปดาห์นี้ออกมาให้ชัดเจนก่อน ถึงจะประเมินตัวเลขจีดีพีใหม่ที่ชัดเจนได้"
“การเมืองยิ่งจบช้าเท่าไหร่ การลงทุนจะยิ่งล่าช้าไปด้วย แต่ผลกระทบจะไปปูดในปีหน้ามากกว่า ดังนั้นสิ่งที่กังวลไม่ใช่ปีนี้ แต่เป็นปีหน้า ที่อาจต่ำกว่าประมาณการที่เราประเมินไว้ด้วย เพราะเมื่อการลงทุนภาครัฐไม่มา การใช้จ่ายภาคเอกชนต่างๆก็ไม่มาด้วย และยิ่งส่งออกมีผลกระทบลากยาว จากการไม่มีนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศที่ชัดเจน อันนี้น่าห่วง” นายบุรินทร์ อดุลวัฒนะ กรรมการผู้จัดการ และ Chief Economist ศูนย์วิจัยกสิกรไทย กล่าวว่า แม้ศูนย์วิจัยกสิกรไทยได้รวมความล่าช้าของการตั้งรัฐบาลในประมาณการเศรษฐกิจปี 2566...
ทั้งนี้หากดูกลางปีนี้ส่งออกติดลบไปแล้ว 5% จากเศรษฐกิจจีนและเศรษฐกิจโลกที่ยังไม่ฟื้นตัว การค้าโลกยังติดลบต่อเนื่อง ดังนั้นถือเป็นความเสี่ยงสำคัญที่ฉุดเศรษฐกิจไทยปีนี้ รวมถึงภาคการผลิตของไทย ปัจจุบันยังติดลบต่อเนื่อง สะท้อนถึง uneven recovery คือการกระจายตัวของเศรษฐกิจไทยไม่ทั่วถึงในทุกภาคส่วน และยิ่งมีปัจจัยซ้ำเติมจาก ภาวะหนี้ และดอกเบี้ยขาขึ้น ที่ยิ่งสร้างปัญหาให้กับเศรษฐกิจไทยมากขึ้น
“การปรับจีดีพีคงปรับลงอีก เพราะวันนี้ downside Risk เพิ่มขึ้น ทำให้จีดีพีอาจต่ำกว่าที่เราประเมินไว้ ครึ่งปีแรกเศรษฐกิจโต 2% ไตรมาส 3 น่าจะได้ 3% และไตรมาสสุดท้ายใกล้ 4% ทำให้ทั้งปีน่าจะอยู่ที่ 3%ต้นๆ เพราะวันนี้ภาพไม่ได้ดี การบริโภคหนืด ธุรกิจเริ่มบ่น และได้รับผลกระทบ ยกเว้นท่องเที่ยวที่ยังไปได้” นายนริศ สถาผลเดชา รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร หัวหน้าศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจ ธนาคารทีทีบีธนชาต หรือ ttb analytics กล่าวว่า ทีทีบี อยู่ระหว่างการปรับจีดีพีลงเหลือ 3.2% ปีนี้ จากเดิมที่คาดการณ์ขยายตัว 3.
ดังนั้นภาพการจัดตั้งรัฐบาลในวันนี้มีความชัดเจนมากขึ้น แม้ประมาณการการจัดตั้งรัฐบาลจะล่าช้ากว่าที่คาด จากเดิม ส.ค.2566 แต่เชื่อว่าผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยปีนี้จะไม่มาก เพราะไม่ได้ให้น้ำหนักจากการใช้จ่ายภาครัฐมากอยู่แล้วในช่วงครึ่งปีหลัง ดังนั้นการใช้จ่าย การลงทุนภาครัฐจะไม่ใช่แรงขับเคลื่อนของเศรษฐกิจไทยในปีนี้
โดยเฉพาะมาตรการขึ้นค่าแรงขั้นต่ำที่อาจเห็นได้ในไตรมาส 2 ปีหน้า และการที่จะมีมาตรการอื่นออกมา คาดว่าจะมีมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐออกมาดูแลผู้ที่ได้รับผลกระทบก่อน โดยเฉพาะผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการขึ้นค่าแรง หรือมาตรการการปรับทักษะของแรงงานก่อนปรับขึ้นค่าแรง เพื่อให้นายจ้างมีความสามารถในการจ่ายเงินมากขึ้น
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
คนดีต้องมีที่ยืน โลกต้องดีกว่า : คนบ้าปลูกป่า (จิรนันท์ กรานสุข) 'เธอตัดฉันก็ปลูก'คนดีต้องมีที่ยืน โลกต้องดีกว่า : คนบ้าปลูกป่า (จิรนันท์ กรานสุข) 'เธอตัดฉันก็ปลูก' tnnoriginalclip คนดีต้องมีที่ยืนโลกต้องดีกว่า คนดีต้องมีที่ยืน ปลูกป่า คนบ้าปลูกต้นไม้ ปลูกต้นไม้ TNN TNNThailand TNNช่อง16 TNNONLINE
อ่านเพิ่มเติม »
ศก.ไทยครึ่งปีหลังโตฝ่ามรสุมกระทรวงการคลังได้ปรับลดคาดการณ์ตัวเลขเศรษฐกิจไทย (จีดีพี) ในปี 2566 ลงเหลือ 3.5% จากคาดการณ์เดิมที่ 3.6% โดยให้เหตุผลว่า หลักๆ เป็นผลมาจากโครงสร้างนักท่องเที่ยวที่เปลี่ยนแปลงไป
อ่านเพิ่มเติม »
บล.กสิกรฯ คาดดัชนีหุ้นไทยสัปดาห์หน้าที่ 1,500 – 1,570 จุดบล.กสิกรไทย คาดดัชนีหุ้นไทยสัปดาห์หน้าที่ 1,500 - 1,570 จุด ติดตามโฟลว์ต่างชาติ การเมือง และ งบบจ.ไตรมาส 2
อ่านเพิ่มเติม »
จีดีพี Q2/66 จีนโตต่ำคาดที่ 6.3% ขณะที่วัยหนุ่มสาวว่างงานอื้อตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี) จีน ไตรมาส 2 ของปี 2566 ขยายตัว 6.3% โดยเป็นอัตราการเติบโตเพียง 0.8% จากไตรมาสแรก ขณะที่นักวิเคราะห์จากรอยเตอร์สคาดการณ์ว่าจีดีพีไตรมาสที่สองจะเพิ่มขึ้น 7.3%
อ่านเพิ่มเติม »