อ่านรายละเอียด : ขาดความน่าเชื่อถือ ฉีดวัคซีน mRNA ติดโควิด สธ.โต้ฉีดวัคซีน mRNA มาก เพิ่มความเสี่ยงติดโควิด ชี้ยังขาดความน่าเชื่อถือ
กระทรวงสาธารณสุข แจง ข้อมูลวิจัยจากสหรัฐฯ เรื่องรับวัคซีน mRNA หลายครั้ง เพิ่มความเสี่ยงติด "โควิด" ยังขาดความน่าเชื่อถือ ยังไม่ถูกยอมรับให้เผยแพร่ ขาดการวิเคราะห์และสรุปข้อมูลที่เกี่ยวข้องด้านระบาดวิทยา พฤติกรรมเสี่ยงและการป้องกันโรคที่มีผลต่อการติดเชื้อ ที่สำคัญไม่สามารถนำมาใช้กับประเทศไทยได้ เนื่องจากสถานการณ์และมาตรการต่างกัน ย้ำฉีดวัคซีนอย่างน้อย 4 เข็ม ห่างกัน 4 เดือน ช่วยเพิ่มความปลอดภัย...
นพ.
"ที่สำคัญ ข้อมูลงานวิจัยดังกล่าวไม่สามารถนำมาใช้กับประเทศไทยได้ เนื่องจากมีความแตกต่างกันในด้านสถานการณ์ มาตรการป้องกันควบคุมโรค ด้านระบาดวิทยา และพฤติกรรมสุขภาพของประชากร โดยสหรัฐอเมริกาไม่ได้เน้นมาตรการ เช่น การสวมหน้ากากอนามัย เหมือนประเทศไทย รวมถึงระบบการรักษาพยาบาล การควบคุมโรค และสายพันธุ์ของเชื้อที่ระบาดมีความแตกต่างกัน อีกทั้งผู้ที่ฉีดวัคซีนโควิด 19 เข็มกระตุ้นมากกว่า 3 เข็มในสหรัฐอเมริกา เป็นกลุ่มผู้มีพฤติกรรมเสี่ยงสูง...
นพ.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
สธ. เผย งานวิจัยอเมริกาชี้ฉีดวัคซีน mRNA เพิ่มความเสี่ยงติดโควิด ไม่น่าเชื่อถือ-ยังไม่ถูกยอมรับนพ.รุ่งเรือง กิจผาติ หัวหน้าที่ปรึกษาระดับกระทรวง (นายแพทย์ทรงคุณวุฒิระดับ 11) ในฐานะประธานคณะกรรมการ MIU กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) เปิดเผยว่า จากกรณีรายงานข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ระบุเรื่องการรับวัคซีน mRNA หลายครั้ง เพิ่มความเสี่ยงติดโรคโควิด 19 ซ้ำนั้น
อ่านเพิ่มเติม »
สธ. แจงข้อมูลฉีดวัคซีน mRNA เพิ่มความเสี่ยงติดโควิด ใช้กับไทยไม่ได้สธ. แจงข้อมูลฉีดวัคซีน mRNA เพิ่มความเสี่ยงติดโควิด ใช้กับไทยไม่ได้ ย้ำวัคซีนโควิดช่วยลดโอกาสการเจ็บป่วยรุนแรงและเสียชีวิตได้อย่างชัดเจน จึงขอเชิญชวนประชาชนให้ฉีดวัคซีนโควิด เข็มกระตุ้นทุก 4 เดือน
อ่านเพิ่มเติม »
อย่าเชื่อ! ฉีดวัคซีน mRNA มาก เพิ่มความเสี่ยงติดโควิดซ้ำ : อินโฟเควสท์นพ.รุ่งเรือง กิจผาติ หัวหน้าที่ปรึกษาระดับกระทรวง ในฐานะประธานคณะกรรมการประมวลสถานการณ์โรคโควิด-19 กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) (MIU) กล่าวถึงกรณีมีข่าวรายงานข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ ระบุเรื่องการรับวัคซีน mRNA หลายครั้ง จะเพิ่มความเสี่ยงติดโรคโควิด-19 ซ้ำ ว่า จากการตรวจสอบพบว่า เป็นข้อมูลงานวิจัยของแผนกโรคติดเชื้อ คลีฟแลนด์คลินิก ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งยังไม่ได้รับการประเมินรับรองจากผู้เชี่ยวชาญก่อนการเผยแพร่ในวารสารวิชาการ และยังไม่ได้รับการยอมรับให้เผยแพร่ตามมาตรฐานวิชาการ นพ.รุ่งเรือง กล่าวต่อว่า ประเด็นที่พบ เป็นเพียงการนำเสนอจากข้อมูลที่มีอยู่ ขาดการวิเคราะห์และสรุปข้อมูล โดยเฉพาะข้อมูลด้านระบาดวิทยาที่สำคัญ พฤติกรรมเสี่ยง พฤติกรรมการป้องกันโรค และประวัติการติดเชื้อร่วมกับการฉีดวัคซีน ทั้งนี้ เนื่องจากการฉีดวัคซีนโควิด-19 เพียงอย่างเดียว ไม่สามารถควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อ หรือการติดเชื้อได้อย่างมีนัยสำคัญ สิ่งสำคัญคือ ต้องร่วมกับพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ดีในการป้องกันโรค เช่น การสวมหน้ากากอนามัยในสถานที่สาธารณะ หรือที่มีผู้คนแออัดจำนวนมาก การล้างมือ และการเว้นระยะห่าง ดังนั้นผลงานวิจัยดังกล่าว จึงขาดความน่าเชื่อถืออย่างมาก “ข้อมูลงานวิจัยดังกล่าว ไม่สามารถนำมาใช้กับไทยได้ เนื่องจากมีความแตกต่างกันในด้านสถานการณ์ มาตรการป้องกันควบคุมโรค ด้านระบาดวิทยา และพฤติกรรมสุขภาพของประชากร โดยสหรัฐฯ ไม่ได้เน้นมาตรการ เช่น การสวมหน้ากากอนามัยเหมือนไทย รวมถึงระบบการรักษาพยาบาล การควบคุมโรค […]
อ่านเพิ่มเติม »
สธ. แจงฉีดวัคซีน mRNA มากเสี่ยงติด “โควิด” ขาดความน่าเชื่อถือ ใช้กับไทยไม่ได้
อ่านเพิ่มเติม »
ไทยยืนยันไม่ตรวจโควิด 'นักท่องเที่ยวจีน' ย้ำหลักความเท่าเทียม ไม่เลือกปฏิบัติคณะกรรมการวิชาการ สธ. เห็นชอบไม่ต้องตรวจโควิด 'นักท่องเที่ยวจีน' ที่เดินทางเข้าไทย ย้ำหลักความเท่าเทียม ไม่เลือกปฏิบัติ SanookNews
อ่านเพิ่มเติม »
สธ. เตรียมรับ 'นักท่องเที่ยวจีน' ไม่ต้องตรวจหาเชื้อโควิด ฉีดวัคซีนครบ 4 เข็มสธ. เตรียมมาตรการรับ 'นักท่องเที่ยวจีน' ระบุยังไม่ต้องตรวจหาเชื้อ โควิด19 ฉีดวัคซีนครบ 4 เข็ม RT-PCR ก่อนถึงไทย 48 ชม โควิด โควิด19 นักท่องเที่ยวจีน นักท่องเที่ยวต่างชาติ คมชัดลึกออนไลน์
อ่านเพิ่มเติม »