สธ. วิจัยนวัตกรรมเฝ้าระวังเชื้อไวรัสก่อโรคใน ยุงลาย ใช้ประเมินทางระบาดวิทยา โรคชิคุนกุนยา ไข้เลือดออก ไวรัสซิกา อินโฟเควสท์
นพ.
นพ.
สำหรับอาคารบ้านเรือนที่พบยุงลายตัวเต็มวัยเกาะพัก มีลักษณะการกระจายเป็นกลุ่มก้อน สอดคล้องกับชีวนิสัยของยุงลายบ้านที่ชอบวางไข่ตามภาชนะรองรับน้ำในบ้านและรอบบ้าน มีระยะบินออกหากินเลือด และแหล่งเกาะพักเป็นช่วงสั้นๆ จึงพบว่าอาคารบ้านเรือนที่ยุงลายตัวเต็มวัยเกาะพักมีระยะใกล้กันมาก ซึ่งชี้ให้เห็นว่า...
“จากผลการวิจัย ทำให้สามารถนำวิธีการตรวจหาเชื้อไวรัสในยุงมาใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินทางระบาดวิทยาโดยตรง เพื่อวิเคราะห์แหล่งที่มาของการแพร่กระจายไวรัสเดงกี ชิคุนกุนยา และซิกา เฝ้าระวังทางกีฏวิทยาของยุงลาย และเฝ้าระวังโรคติดต่อนำโดยยุงลาย รวมถึงถ่ายทอดนวัตกรรมไปยังเครือข่ายบริการสุขภาพในเขตสุขภาพที่ 11 และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง”ทั้งนี้ สามารถทำการศึกษาวิจัยต่อยอดได้ในประเด็นเกี่ยวกับจำนวนตัวอย่าง Pool ของยุงลายตัวเต็มวัยเกาะพักในบ้านที่จับได้จากพื้นที่ที่มีนิเวศวิทยาสิ่งแวดล้อมต่างกัน...
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
สธ. แนะสงกรานต์ สาดน้ำปลอดภัย ระวังไฟดูด-ไฟช็อต : อินโฟเควสท์นพ.ธเรศ กรัษนัยรวิวงค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) กล่าวว่า ช่วงนี้เป็นช่วงของประเพณีสงกรานต์ของประเทศไทย ในหลายพื้นที่เริ่มมีการจัดกิจกรรมเล่นน้ำ กรมควบคุมโรคจึงขอแนะนำประชาชนในการเล่นน้ำให้ปลอดภัยช่วงสงกรานต์ ระมัดระวังอันตรายจากไฟดูด ไฟช็อต การบาดเจ็บที่เกิดขึ้นพบได้ทั้งอาการชา ปวดกล้ามเนื้อ เกิดอาการกระตุกรุนแรง เกิดแผลไหม้ ในบางรายอาจมีความรุนแรงถึงขั้นหมดสติ หัวใจล้มเหลว และทำให้เสียชีวิตได้ จากข้อมูลสถิติประเทศไทย ปี 2561-2562 ของกองป้องกันการบาดเจ็บ กรมควบคุมโรค พบจำนวนผู้ป่วยจากการสัมผัสกระแสไฟฟ้าช่วงวันสงกรานต์ และเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล 47 ราย สาเหตุที่พบ มีทั้งน้ำกระเด็นไปถูกปลั๊กไฟ สายไฟ ทำให้กระแสไฟฟ้ารั่วและไฟฟ้าช็อต ร่างกายเปียกทำให้กระแสไฟสามารถไหลผ่านร่างกายได้ง่าย สายไฟหรืออุปกรณ์ชำรุด และไม่มีระบบกันน้ำซึ่งมีโอกาสเกิดไฟรั่วได้ สำหรับคำแนะนำการป้องกันไฟดูด ไฟช็อตช่วงสงกรานต์ คือ – หากตัวเปียก ห้ามสัมผัสวัสดุนำไฟฟ้าทุกชนิด เช่น การเปิดปิดอุปกรณ์ไฟฟ้า กดกริ่งไฟฟ้า เสียบปลั๊กไฟ ชาร์จโทรศัพท์มือถือ เครื่องเสียง เสาเหล็ก ราวสะพานลอย ป้ายโฆษณา – ระวังการเล่นน้ำใกล้เสาไฟฟ้า ในอุโมงค์น้ำ ปาร์ตี้โฟม อาจเกิดไฟรั่ว ไฟช็อตได้ […]
อ่านเพิ่มเติม »
สธ.เปิดผลวิจัยเมนูสมุนไพร 'พรมมิ' ช่วยเสริมสุขภาพผู้สูงวัย : อินโฟเควสท์นพ.รุ่งเรือง กิจผาติ หัวหน้าที่ปรึกษาฯ และโฆษกกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) ในฐานะประธานคณะกรรมการ MIU (MOPH Intelligence Unit) เปิดเผยว่า ปัจจุบันประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมสูงอายุอย่างเต็มรูปแบบ โดยมีผู้อายุ 60 ปีขึ้นไปกว่า 11 ล้านคน คิดเป็น 18% ของประชากรทั้งหมด ซึ่งส่วนใหญ่เกิดปัญหาภาวะสมองเสื่อม (dementia) มีความเสื่อมถอยในด้านความจำ สมาธิ มีอาการหลงลืม ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน ขณะที่มีข้อมูลเกี่ยวกับสมุนไพร “พรมมิ” ในตำราอายุเวทของอินเดียใช้เป็นสมุนไพรเพิ่มความจำ บำรุงสมอง และมีรายงานวิจัยในเด็กวัยเรียนที่ได้รับยาน้ำเชื่อม “พรมมิ” มีการเรียนรู้ ความจำ ความเข้าใจที่ดีขึ้น ส่วนผู้ใหญ่ที่มีภาวะวิตกกังวลจะมีอาการลดลง มีสมาธิดีขึ้น ดังนั้นจึงมีผู้คิดค้นและวิจัยการนำสมุนไพร “พรมมิ” มาประกอบในเมนูอาหารบำรุงสุขภาพผู้สูงอายุ โดยคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ได้ทำการวิจัยพัฒนาตำรับอาหารเพื่อสุขภาพจากสมุนไพร “พรมมิ” สำหรับผู้สูงอายุ และได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการสาธารณสุข โดยปรับปรุงสูตรอาหารให้เป็นเมนูเพื่อสุขภาพ 3 ประเภท ประกอบด้วย ต้ม/แกง, ผัด/ทอด และตุ๋น/นึ่ง/ลวก รวม 20 […]
อ่านเพิ่มเติม »
สธ.นำร่องใช้เทคโนโลยีดูแลสุขภาพผู้ที่ไม่มีเอกสารประจำตัวใน 5 จังหวัด : อินโฟเควสท์นพ.ธเรศ กรัษนัยรวิวงค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) พร้อมด้วย นพ.โสภณ เอี่ยมศิริถาวร รองอธิบดีกรมควบคุมโรค ผู้อำนวยการจากสำนักงานความร่วมมือระหว่างประเทศ กองโรคติดต่อทั่วไป และสถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง รวมทั้งเจ้าหน้าที่จากกองดิจิทัลเพื่อการควบคุมโรค หารือเตรียมการจัดเก็บอัตลักษณ์บุคคลด้วยการสแกนม่านตาและการจดจำใบหน้าสำหรับผู้ไม่มีเอกสารประจำตัวที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย ทั้งกลุ่มแรงงานข้ามชาติ กลุ่มชาติพันธุ์ ผู้ลี้ภัยที่ต้องได้รับบริการสุขภาพที่จำเป็น “การพัฒนาระบบพิสูจน์อัตลักษณ์บุคคลของกลุ่มที่ไม่มีเอกสารประจำตัว โดยความร่วมมือกันระหว่างกรมควบคุมโรค สภากาชาดไทย NECTEC องค์การอนามัยโลก ประจำประเทศไทย และศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐ ด้านสาธารณสุข (TUC) จะเป็นการยกระดับระบบการยืนยันตัวบุคคลของกลุ่มดังกล่าวที่จะได้รับบริการสุขภาพที่จำเป็น ณ สถานบริการสาธารณสุขทั่วประเทศ โดยเฉพาะอย่างในด้านการป้องกันและควบคุมโรคที่รวดเร็วและแม่นยำ” นพ.ธเรศ กล่าว เนื่องจากช่วง 2 ปีเศษที่ผ่านมา ไทยได้ฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ทั่วประเทศ พบว่า กลุ่มที่ไม่สามารถระบุตัวตนได้ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มแรงงานข้ามชาติที่ไม่ได้ขึ้นทะเบียนและไม่มีเอกสารยืนยันตัวตน ทำให้ยากต่อการให้บริการและติดตามการฉีดวัคซีนโควิด-19 อีกทั้งยังพบปัญหาการออกเลขประจำตัวใหม่เพื่อระบุตัวตนที่อาจมีความซ้ำซ้อนเมื่อมีการย้ายสถานบริการสาธารณสุข ดังนั้นการใช้เทคโนโลยีจัดเก็บอัตลักษณ์บุคคล จะช่วยให้กระบวนการทำงานทั้งป้องกัน และควบคุมโรคของประเทศไทยมีความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น เมื่อปี 2565 กรมควบคุมโรคได้ทดลองใช้การจัดเก็บอัตลักษณ์บุคคลผ่านการสแกนม่านตา ร่วมกับสภากาชาดไทยและศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ในกลุ่มแรงงานข้ามชาติและกลุ่มผู้ลี้ภัยจากการสู้รบมากกว่า 60,000 คน โดยยึดหลักมนุษยธรรมเป็นสำคัญ พบว่า ผลการดำเนินงานประสบผลสำเร็จเป็นอย่างดี […]
อ่านเพิ่มเติม »
ดัชนีความร้อนระอุ วันนี้ (14 เม.ย.66) 'ชลบุรี' ทะลุ 53.2 องศาก่อนหน้านี้ นพ.เอกชัย เพียรศรีวัชรา รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) ได้ให้สัมภาษณ์กับ 'อีจัน' ถึงสถิติการเกิดโรคฮีทสโตรก ว่า เมื่อปี 2565 มีผู้ป่วยโรค
อ่านเพิ่มเติม »
สธ.ห่วงอุบัติเหตุสงกรานต์ ยอดตายสูงสุด 13 เม.ย.ทุกปี ย้ำเตือนอีกครั้ง 'ขับไม่ดื่ม'สธ.ห่วงอุบัติเหตุสงกรานต์ ยอดตายสูงสุด 13 เม.ย.ทุกปี ย้ำเตือนอีกครั้ง 'ขับไม่ดื่ม' SanookNews Sanook ข่าววันนี้
อ่านเพิ่มเติม »
'โรม' ผิดสังเกตคุมตัวแฮกเกอร์ 9near หวั่นสาวไม่ถึงอำนาจเบื้องหลัง สธ.ต้องชี้แจงบ้าง'รังสิมันต์' ชี้คุมตัวแฮกเกอร์ 9near ผิดสังเกต เรียกร้องขยายผลผู้เกี่ยวข้อง หวั่นสาวไม่ถึงคนมีอำนาจเบื้องหลัง แนะ สธ.ต้องชี้แจงบ้าง ป้องกันข้อมูลประชาชนหลุดซ้ำ SanookNews Sanook ข่าววันนี้
อ่านเพิ่มเติม »