ศาสตราจารย์กิตติคุณ นพ. สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ ประธานกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กสว.) เปิดเผยว่า ในยุคโลกาภิวัฒน์เต็มไปด้วยการเปลี่ยนแปลง งานวิจัยและนวัตกรรมกลายเป็นหัวใจสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เพื่อขับเคลื่อนสู่การเป็นเศรษฐกิจยุคใหม่ โดยที่ผ่านมาประเทศไทยมีการลงทุนด้านการวิจัยและนวัตกรรมไม่ถึง 2% ของ GDP เทคโนโลยีใหม่ที่ใช้ในประเทศส่วนใหญ่นำเข้ามาจากต่างประเทศ ซึ่งในปัจจุบันมีกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม หรือ กองทุนส่งเสริม ววน.
ศาสตราจารย์กิตติคุณ นพ. สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ ประธานกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เปิดเผยว่า ในยุคโลกาภิวัฒน์เต็มไปด้วยการเปลี่ยนแปลง งานวิจัยและนวัตกรรมกลายเป็นหัวใจสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เพื่อขับเคลื่อนสู่การเป็นเศรษฐกิจยุคใหม่ โดยที่ผ่านมาประเทศไทยมีการลงทุนด้านการวิจัยและนวัตกรรมไม่ถึง 2% ของ GDP เทคโนโลยีใหม่ที่ใช้ในประเทศส่วนใหญ่นำเข้ามาจากต่างประเทศ ซึ่งในปัจจุบันมีกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม หรือ กองทุนส่งเสริม ววน.
กองทุนส่งเสริม ววน.
รองศาสตราจารย์ ดร. ปัทมาวดี โพชนุกูล ผู้อำนวยการ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กล่าวว่า ในปีนี้ได้จัดการประชุมชี้แจงเป้าหมายการสนับสนุนงบประมาณด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม และแนวทางการจัดทำคำของบประมาณของหน่วยงานในระบบ ววน. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 เพื่อให้หน่วยงานในระบบ ววน.
ทั้งนี้ ที่ผ่านมากองทุนส่งเสริม ววน. เป็นตัวกลางในการขับเคลื่อนระบบ ววน. ของประเทศ ให้เกิดการพัฒนาประเทศอย่างสมดุลและยั่งยืนใน 6 ด้าน คือ 1. ส่งเสริมการผลิตและพัฒนากำลังคน และยกระดับความสามารถของผู้ประกอบการ ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม 2. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและนวัตกรรม และโครงสร้างพื้นฐานด้านคุณภาพ รวมถึงปัจจัยเอื้อที่สนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม 3.
“การปฏิรูประบบ ววน. ส่งผลให้เกิดการพัฒนากำลังคนด้าน ววน.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
ญี่ปุ่นแจก 5,000 เด็กอายุ 0-18 ปี นาน 1 ปีเรื่อง 'ทำจริงแจกจริง' ต้องยกให้ญี่ปุ่น ที่ขยันออกนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจในครัวเรือน โดยล่าสุดรัฐบาลออกนโยบายแจกเงินช่วยเหลือเด็ก อายุ 0-18 ปี เดือนละ 5,000 เยน เป็นเวลา 1 ปี
อ่านเพิ่มเติม »